งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 1 /2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 1 /2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 1 /2558
วันอังคารที่ 9 ธันวาคม 2557 เวลา – น. ห้องประชุมสมบูรณ์ วัชโรทัย อาคาร 1 ชั้น 2 กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference

2 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ วาระที่ 1
ติดตามการดำเนินงานตามมติที่ประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2557 วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 พิจารณาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 การส่งผลงานเข้าประกวดเพื่อขอรับรางวัล 2

3 การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2557
รับรองรายงานการประชุม วาระที่ 2 การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2557 วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 3 3

4 เรื่องสืบเนื่อง วาระที่ 3
จากการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2557 กองแผนงาน Road map และเนื้อหา/วิธีการเก็บข้อมูลในระบบข้อมูลสารสนเทศกรมอนามัย ที่รองรับการปรับเปลี่ยนระบบข้อมูลสารสนเทศของกระทรวง สลก. การดำเนินงานเรื่องการประหยัดพลังงาน สลก. การประเมินการใช้งานระบบสารบรรณ Electronic ของทุกหน่วยงาน และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ระบบฯ 4

5 ความเหมาะสมของตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 4 ความเหมาะสมของตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 1) มิติประสิทธิภาพ 3 ตัวชี้วัด (ตัวชี้วัดบังคับ) 2) มิติพัฒนาองค์กร ตามแนวทาง PMQA 3) มิติประสิทธิผล ที่หน่วยงานเสนอ 2-5 ตัว 4) กำหนดการประชุมชี้แจง และการลงนามคำรับรองฯ 5

6 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ
ระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด คะแนน มิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล 1. ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์และภารกิจหลักของหน่วยงาน 500 การประเมินคุณภาพ ไม่กำหนดเป็นตัวชี้วัด - มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ 2. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 100 3. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงาน 4. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การพัฒนาองค์การ 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การตามแนวทางPMQA 200 รวม 1,000

7 รายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดมิติประสิทธิภาพ
7

8 ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20 40 60 80 100 ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.50 49 51 53 55 56 - ไตรมาสที่ 3 0.25 70 72 74 76 77 - ไตรมาสที่ 4 90 92 94 96 97 รวม 1.0 8

9 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
กรณีที่ 2 หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20 40 60 80 100 1. ความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.30 49 51 53 55 56 - ไตรมาสที่ 3 0.15 70 72 74 76 77 - ไตรมาสที่ 4 90 92 94 96 97 2. ความสามารถในการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.40 75 78 81 84 87 รวม 1.0 9

10 ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ตามมาตรการประหยัดพลังงาน
เกณฑ์การให้คะแนน 1.มีการรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน 2.มีการรายงานข้อมูลพื้นฐาน และการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ครบถ้วน 12 เดือน 3. ดูผลการคำนวณ EUI การใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ตามสูตร ถึง ถึง 0 ถึง ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง 10

11 ตัวชี้วัดที่ 4 คุณธรรมและความโปร่งใส
รอการบูรณาการเกณฑ์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงาน ก.พ.ร. ปปช. ปปท.) 11

12 รายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดมิติพัฒนาองค์การ
12

13 ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ
ตามแนวทาง PMQA คะแนนรายหมวด/ข้อย่อย จะปรับอีกครั้งเนื่องจากเดิมคะแนนเต็ม 400 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 200 คะแนน หมวดที่ 1 การนำองค์การ 70 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 70 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 70 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 70 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล 60 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ 60 ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 24 ข้อ หลักฐานอ้างอิงขั้นต่ำ 12 รายการ 13

14 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
หมวดที่ 1 การนำองค์การ 70 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.1 ผู้บริหารของหน่วยงานมีการกำหนดทิศทาง นโยบาย เป้าหมายการดำเนินงาน และถ่ายทอด สื่อสารให้บุคลากรรับรู้และนำไปปฏิบัติ 25 1.2 ผู้บริหารมีการมอบอำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ 1.3 ผู้บริหาร มีบทบาทในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 20 14

15 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
70 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 2.1 มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในภายนอกที่สำคัญ 10 2.2 มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน 2.3 มีการจัดทำข้อตกลงในการถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคลอย่างเป็นระบบ (Flow Chart) 20 2.4 มีการสื่อสารและทำความเข้าใจ เรื่องการนำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ 2.5 มีการติดตาม การรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนฯ และสรุปบทเรียนของการดำเนินงานระดับหน่วยงาน/ระดับบุคคล หลักฐาน : แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ ส่งรอบ 6 เดือน หลักฐาน : แผนภาพแสดงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ส่งรอบ 6 เดือน 15

16 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
70 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 3.1 มีการวิเคราะห์กลุ่ม C/SH สินค้าและบริการ ความคาดหวังความต้องการของ C/SH 20 ผลการวิเคราะห์ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ 6 เดือน 3.2 มีการกำหนดมาตรฐานการให้บริการ ซึ่งมีระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการ 15 มาตรฐานการให้บริการ 3.3 มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH 10 รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรม (ตามแบบฟอร์ม) 3.4 มีการดำเนินงานโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนงานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน 3.5 มีการวัดความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของ C/SH รายงานสรุปความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ 16

17 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
70 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 4.1 มีฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงานที่ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย 20 รายการฐานข้อมูลหรือระบุ URL เว็บไซต์ 4.2 มีระบบเทคโนโลยี ที่ C/SH สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและรับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกกลุ่ม 15 4.3 มีระบบติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4.4 มีการจัดการความรู้ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน C/SH และมีการนำความรู้ไปใช้การพัฒนางาน รายงานสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการจัดความรู้ภายในหน่วยงาน 17

18 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล
60 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้/ทักษะ และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน 20 รายงานผลการพัฒนาความรู้/ทักษะ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ เดือน 5.2 มีกิจกรรมส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลกร รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร (ตามแบบฟอร์ม) 5.3 มีกิจกรรมสร้างความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรมการสร้างความผาสุก (ตามแบบฟอร์ม) 18

19 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ
60 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 6.1 มีการกำหนดกระบวนการทีสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 15 6.2 มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) 6.3 มีการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปใช้ในการดำเนินงาน 6.4 มีแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน ต่าง ๆ และสื่อสารให้บุคลากรทราบ 19

20 รายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล
20

21 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน
จำนวนตัวชี้วัด สำนัก ส. 3 2. สำนัก ท. 4 3. สำนัก ภ. 4. สำนัก อพ. 2 5. กอง อ. 5 6. สำนัก ผู้สูงอายุ หน่วยงาน จำนวน ตัวชี้วัด ศูนย์อนามัย 1-12 6 13. กทป. 2 14. ศพส. 4 หน่วยงาน จำนวนตัวชี้วัด 1. กตส. 2 2. สลก. 3 3. กอง จ. 4. กองคลัง 5. กองแผน 6. กพร. 7. สตส. 8. สรป. 9. สจร. หน่วยงาน จำนวนตัวชี้วัด 1. สำนัก ว. 3 2. สำนัก สอ. 6 3. กอง ป. 4. ศกม. 5. ศูนย์ห้องฯ รวม 34 หน่วยงาน 74 ตัวชี้วัด 21

22 ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ
1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ( ) สำนักส่งเสริมสุขภาพ 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ( ) สำนักโภชนาการ 3. ร้อยละของ รพ.สป.ผ่านเกณฑ์ สถานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณาการ   ( ) สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 4. มีระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ( เรื่อง) 5 หน่วยงาน สายอนามัยสิ่งแวดล้อม 5. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ( ) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. ร้อยละของ รพ.สต./ ศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ สำนักทันตสาธารณสุข 22

23 กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุข
ระหว่างประเทศ แ2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผลงานวิจัยได้รับการนำเสนอในเวที วิชาการทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการนำเสนอในเวทีวิชาการทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ 65 70 75 23

24 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายต่อการสนับสนุนของการดำเนินงานของ กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายต่อการสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ 65 70 75 85 24

25 ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง จังหวัดลำปาง
แ4 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนบุคลากรศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง ได้รับการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนบุคลากรศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (คน) 30 35 45 50 25

26 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของประชาชนในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของประชาชนในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (338 คน) 70 (394 คน) (450 คน) 90 (507 คน) (563 คน) 26

27 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - 1 2 27

28 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละความพึงพอใจ ต่อการพัฒนาสุขภาพเด็กและ เยาวชน ภายใต้โครงการส่งเสริมโภชนาการ อนามัยแม่และ เด็ก และอนามัยสิ่งแวดล้อมในถิ่นทุรกันดาร เพื่อสนับสนุน โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง ปีงบประมาณ 2558 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละความพึงพอใจต่อการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนฯ 65 70 75 85 28

29 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
สำนักส่งเสริมสุขภาพ แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 77 115 154 191 228 29

30 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย
เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย 65 70 75 85 30 30

31 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของเด็กอายุ 18 และ 30 เดือน ได้รับการ คัดกรองพัฒนาการ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของเด็กอายุ 18 และ 30 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ 70 90 31 31

32 ความสำเร็จตามเป้าหมาย
สำนักทันตสาธารณสุข แ4ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพ ช่องปากที่มีคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ 30 35 45 50 32 32

33 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ลดลงร้อยละ 2 ต่อปี
เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 อัตราฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีลดลงร้อยละ 2 ต่อปี - เท่าเดิม ลด ร้อยละ2 ร้อยละ2.5 ร้อยละ3 33 33

34 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขจัดบริการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.มีการประชุมถ่ายทอดโครงการ/แผนงาน แก่ผู้ประสานงานระดับเขต 20 2.มีกิจกรรมรณรงค์/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการขยายเครือข่ายการให้บริการ 3.มีการจัดบริการส่งเสริม ป้องกันด้านสุขภาพช่องปากให้กับผู้สูงอายุใน รพ.สต./ศสม.130 แห่ง 4.มีการจัดบริการส่งเสริม ป้องกันด้านสุขภาพช่องปากให้กับผู้สูงอายุใน รพ.สต./ศสม.135 แห่ง 5. มีการจัดบริการส่งเสริม ป้องกันด้านสุขภาพช่องปากให้กับผู้สูงอายุใน รพ.สต./ศสม.140 แห่ง 34 34

35 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนผู้สูงอายุได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทาน เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.มีโครงการ/แผนงาน 20 2.มีการตั้งเป้าหมายรายจังหวัด 3.มีการสนับสนุนการดำเนินงาน การรณรงค์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4.มีการจัดบริการใส่ฟันเทียม 35,000 ราย 5.มีการจัดบริการใส่ฟันเทียม มากว่า 35,500 ราย 35 35

36 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
สำนักโภชนาการ แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 9.7 9.6 9.5 9.4 9.3 36 36

37 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 52 64 76 88 37 37

38 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง
เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 104 128 152 176 200 38 38

39 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
แ2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราการคลอดในมารดาอายุ ปี เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 อัตราการคลอดในมารดาอายุ ปี 55 54 53 52 51 39 39

40 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และรับรองโรงพยาบาล ตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและ เยาวชนฉบับบูรณาการ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณาการ 45 50 55 40 40

41 กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
แ5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถานประกอบกิจการด้านการ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์คุณภาพสถานประกอบ กิจการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินสถานประกอบกิจการด้านการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ 10 2. มีแผนการประเมินสถานสถานประกอบกิจการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 25 3. มีกระบวนการตรวจประเมินที่ชัดเจน อย่างเป็นขั้นตอน 4. จำนวนสถานประกอบกิจการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 6 แห่ง 20 5. จำนวนสถานประกอบกิจการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 12 แห่ง รวม 100

42 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนคลินิกไร้พุง (DPAC) ในโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ศูนย์อนามัยเขต ผ่านเกณฑ์ การประเมินคุณภาพ (DPAC Quality) เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนคลินิกไร้พุง (DPAC) ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยเขต ผ่านเกณฑ์ การประเมินคุณภาพ (DPAC Quality) 1 แห่ง 3 แห่ง 6 9 แห่ง 12 42 42

43 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการรณรงค์ปวง ประชาร่วมใจ ปั่นสองล้อสู่สุขภาพดี เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีการจัดทำโครงการ และแผนการดำเนินงานโครงการ 10 2. มีร่างแนวทางดำเนินการและเกณฑ์เมืองจักรยานเพื่อสุขภาพ 20 3. จัดประชุมชี้แจงแนวทางนโยบายสาธารณะส่งเสริมการใช้จักรยานตามบริบทพื้นที่ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นต้นแบบ 25 4. จัดประชุมวิชาการการส่งเสริมการใช้จักรยานเพื่อสุขภาพ และมอบรางวัลพื้นที่ต้นแบบเมืองจักรยาน 5. มีการสรุปโครงการรณรงค์ปวงประชาร่วมใจ ปั่นสองล้อสู่สุขภาพดี เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อการพัฒนาต่อยอดโครงการในปีถัดไป รวม 100 43

44 ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรและขยายผลการดำเนินงานเพื่อป้องกัน การจมน้ำในเด็กไทย เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีการจัดทำโครงการ และแผนการดำเนินงานโครงการ 10 2. มีคู่มือป้องกันและการช่วยเหลือตนเองเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำในเด็ก 20 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ ครู ก 2 รุ่น 25 4. จัดการประกวดนวัตกรรมเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในการป้องกันการจมน้ำ 5. มีการสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและขยายผลการดำเนินงานเพื่อป้องกันการจมน้ำในเด็กไทยเพื่อการพัฒนาต่อยอดโครงการในปีถัดไป รวม 100 44 44

45 ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จการจัดทำองค์ความรู้เรื่อง
ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จการจัดทำองค์ความรู้เรื่อง การออกกำลังกายในพระสงฆ์ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.ศึกษาและเก็บข้อมูลกิจวัตรประจำวันของพระสงฆ์ 20 2.จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์การออกกำลังกายที่เหมาะสมของพระสงฆ์ 3.จัดทำรูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมของพระสงฆ์ 4.ส่งข้อมูลองค์ความรู้เสนอให้กลุ่มอำนวยการจัดทำสื่อ 5.เผยแพร่ให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อนำไปสู่การให้ความรู้แก่พระสงฆ์ รวม 100 45 45

46 สำนักอนามัยผู้สูงอายุ
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 22 24 26 28 30 46 46

47 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของ DHS ที่มีระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และผู้สูงอายุที่ต้องการการพึ่งพิง (Long Term Care) ด้าน สุขภาพ (ตัวชี้วัดแผนงานผู้สูงอายุระดับเขต) เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของ DHS ที่มีระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและผู้สูงอายุที่ต้องการการพึ่งพิง (Long Term Care) ด้านสุขภาพ (ตัวชี้วัดแผนงานผู้สูงอายุระดับเขต) 10 15 25 30 47 47

48 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 10 15 25 30 48 48

49 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 ประเด็น 2 ประเด็น 3 ประเด็น 4 ประเด็น 5 ประเด็น 49

50 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขดำเนินกิจกรรม GREEN เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ของผลงานที่ผ่านมา เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนสถานสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขดำเนินกิจกรรม GREEN เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ของผลงานที่ผ่านมา - 34 แห่ง 68 แห่ง 102 แห่ง 135 แห่ง 50

51 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมี การจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย 839 843 847 851 855 51

52 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แ6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 ประเด็น 2 ประเด็น 3 ประเด็น 4 ประเด็น 5 ประเด็น 52

53 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาร้านอาหารไทย ปลอดภัยสุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus) เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีแผนงาน/โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี 20 2. มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและการประเมินรับรองมาตรฐานโครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัยสุขภาพดี แก่เจ้าหน้าที่ศอ.ที่ 1-12 3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ/มีการสนับสนุนการดำเนินงานศอ.ที่ 1-12 30 4. มีผลสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาร้านอาหารไทย ปลอดภัยสุขภาพดี ตามเป้าหมาย อย่างน้อย 60 แห่ง รวม 100 53

54 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA 1000) ระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีแผนงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม 20 2. มีข้อมูลพื้นฐานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA 1000) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าร่วมโครงการ 40 3. มีการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม 60 4. มีการประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA 1000) และมีการติดตามการนำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ไปใช้ในพื้นที่เป้าหมาย 80 5. มีผลสำเร็จของการดำเนินงานสามารถพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA 1000) ระดับพื้นฐานตามเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าศูนย์อนามัยละ 1 แห่ง 100 54

55 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 4 : ระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีแผนงาน/โครงการ 20 2. มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน/สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 15 3. ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่าง มากกว่า 1,500 ตัวอย่าง 45 4. มีผลสำเร็จของการดำเนินงานตามเป้าหมาย ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภคที่ได้รับจากศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย ได้บันทึกและวิเคราะห์เข้าสู่ระบบรายงานสรุปสถานการณ์คุณภาพน้ำ รวม 100 55

56 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้าน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีแผนงาน/โครงการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 20 2. มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ 3. มีการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่ปกติ และพื้นที่เสี่ยง 30 4. มีรายงานผลการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่ปกติ และพื้นที่เสี่ยง รวม 100 56

57 ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จของการลด ละ เลิก การใช้
ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จของการลด ละ เลิก การใช้ ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.มีแผนงาน /โครงการรณรงค์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 20 2.มีการประชุม / ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 3.มีกิจกรรมการติดตามรณรงค์และตรวจเยี่ยม 30 4.มีผลสำเร็จของการดำเนินงานตามเป้าหมาย 4.1 ร้านและแผงลอยจำหน่ายอาหารในศูนย์อนามัย เลิกการใช้โฟม ใส่อาหาร 100 % จำนวน 12 แห่ง 4.2 ร้อยละ 30 ของ สสจ./รพศ./รพท./รพช. ที่ร้านและแผงลอย จำหน่ายอาหาร เลิกการใช้โฟมใส่อาหาร 100% ( 285 แห่ง) รวม 100 57

58 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 ประเด็น 2 ประเด็น 3 ประเด็น 4 ประเด็น 5 ประเด็น 58

59 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการประเมินความเปราะบาง และการปรับตัวด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ กรณี ผลกระทบจากอุทกภัย เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. รวบรวมข้อมูลวิชาการ 10 2. วิเคราะห์ขอบเขตการศึกษาและจัดทำเครื่องมือในการเก็บข้อมูล 3. ลงเก็บข้อมูลตามเครื่องมือที่ได้พัฒนาขึ้นมา 20 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. รายงานการศึกษาความเปราะบางและการปรับตัวด้านสุขภาพ 40 รวม 100 59

60 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนเครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม (Checklist) สำหรับตรวจประเมินกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนเครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Checklist) สำหรับตรวจประเมินกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2 กิจการ 3 4 5 6 60

61 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 ประเด็น 2 ประเด็น 3 ประเด็น 4 ประเด็น 5 ประเด็น 61

62 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนการจัดทำร่างอนุบัญญัติออกตามความใน พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนการจัดทำร่างอนุบัญญัติออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 5 6 7 8 9 62

63 ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดที่มีการ ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดที่มีการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 50 55 65 70 63

64 ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ และทดสอบคุณภาพน้ำในโครงการของกรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์และทดสอบคุณภาพน้ำในโครงการของกรมอนามัย 3,000 3,500 4,000 4,500 5,000 64

65 ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนประชาชน ชุมชนและบุคลากรภาคีเครือข่าย ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนประชาชน ชุมชนและบุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (ราย) 200 400 600 800 1,000 65

66 กระบวนงาน ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
เกณฑ์การให้คะแนน กระบวนงาน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 20 40 60 80 100 1.กระบวนงานตรวจวิเคราะห์และทดสอบ 65 70 75 85 2.กระบวนงานผลิตชุดทดสอบอย่างง่าย 66

67 ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของกระบวนการตรวจสอบภายใน
กลุ่มตรวจสอบภายใน แ2ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของกระบวนการตรวจสอบภายใน เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.กระบวนการประเมินความเสี่ยง: สำรวจข้อมูลต่าง ๆ ระบุปัจจัยเสี่ยง และวิเคราะห์ความเสี่ยง และจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง 20 2.กระบวนการวางแผนการตรวจสอบ : การกำหนดประเด็นการตรวจสอบ ให้สอดคล้องกับแผนการตรวจสอบระยะยาว 3.กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบ : การตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และประเมินผล สรุปประเด็นข้อตรวจพบ และบันทึกข้อมูล 4.กระบวนการรายงานผล: รวบรวมข้อมูลที่ได้สรุปประเด็นข้อตรวจพบไว้ และคัดเลือกข้อมูลที่มีความสำคัญ ร่างรายงานและเสนอรายงานให้ผู้บริหารรับทราบ 5.จัดลำดับความเสี่ยงของหน่วยงานรับตรวจ ประจำปี 2558 67

68 ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการ ปฏิบัติงานของกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ ต่อการปฏิบัติงานของกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย 65 70 75 85 68 68

69 สำนักงานเลขานุการกรม
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม และความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรรมสำคัญของกรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมพิธีในวันสำคัญที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ 65 70 75 85 2. ร้อยละผู้เข้าร่วมกิจกรรมวันคล้ายวันสถาปนากรมอนามัย 3. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทย 4. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการตรวจสุขภาพประจำปี 5. ร้อยละความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรรมสำคัญของกรมอนามัย ทั้ง 4 กิจกรรม 69

70 ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 :ร้อยละความสำเร็จในการให้บริการงานอาคาร สถานที่กรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 1. ร้อยละความสำเร็จในการให้บริการซ่อมบำรุงอาคาร 65 70 75 85 2. ร้อยละความสำเร็จในการให้บริการด้านงานไฟฟ้า 3. ร้อยละความสำเร็จในการให้บริการด้านงานประปา 4. ร้อยละความสำเร็จในการให้บริการด้านงานโทรศัพท์ 70 70

71 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการประเมินการใช้งาน ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.จัดทำประเด็นการประเมินการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน 20 2.ประสานและชี้แจงทำความเข้าใจกับหน่วยงานเกี่ยวกับการประเมินการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 10 3.ดำเนินการประเมินการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์โดยการสอบถามเจ้าหน้าที่ของทุกหน่วยงานในสังกัดกรม 25 4.รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล 5.มีรายงานสรุปผลการประเมินการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์รายหน่วยงานและภาพรวมกรมอนามัย พร้อมข้อเสนอต่อการพัฒนาปรับปรุง 71 71

72 กองการเจ้าหน้าที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน แ3 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2558 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.สำรวจอัตราว่างแรกบรรจุ และสอบถามความต้องการในการสรรหาบุคคล (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557) 20 2.แต่งตั้งและประชุม คกก.ดำเนินการคัดเลือก กำหนดเกณฑ์การคัดเลือก ประกาศรับสมัครคัดเลือก (ธันวาคม2557-มกราคม 2558) 30 3. ตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัคร (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2558) 10 4.ดำเนินการคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเพื่อบรรจุเข้ารับราชการตามเกณฑ์(กุมภาพันธ์ 2558) 5.ประกาศผลการคัดเลือกเพื่อเรียกบรรจุบุคคลผู้คัดเลือกได้ให้บรรจุเข้ารับราชการต่อไป (มีนาคม 2558) 72 72

73 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดทำคำสั่งเลื่อน ค่าตอบแทนประจำปีของพนักงานราชการ กรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.แจ้งหน่วยงานดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานราชการ ครั้งที่ 1 และสรุปผลการประเมินฯ เพื่อพิจารณาการเลื่อนค่าตอบแทน และการเลิกจ้าง 20 2.ตรวจสอบข้อมูลพนักงานราชการที่มีตัว เพื่อคำนวณวงเงินการเลื่อนค่าตอบแทนประจำปี แจ้งหน่วยงานดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่ 2 และสรุปผลการประเมินฯ เพื่อพิจารณาการเลื่อนค่าตอบแทน และการเลิกจ้าง 3.ตรวจสอบความถูกต้องของการพิจารณาเลื่อนค่าตอบแทนที่ได้รับจากหน่วยงาน นำข้อมูลเข้าที่ประชุมคณะกรรมการการบริหารวงเงิน การเลื่อนค่าตอบแทนประจำปี 4.ดำเนินการจัดทำคำสั่งเลื่อนค่าตอบแทนประจำปีของพนักงานราชการ กรมอนามัย แล้วเสร็จภายหลังเดือนตุลาคม ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 5.ดำเนินการจัดทำคำสั่งเลื่อนค่าตอบแทนประจำปีของพนักงานราชการ กรมอนามัย แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 73 73

74 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานสำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวกับการป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบของกรมอนามัยปีงบประมาณ2558 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.จัดทำแบบสำรวจความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของกรมอนามัยปีงบประมาณ2558 25 2.กำหนดกลุ่มตัวอย่างและจัดส่งแบบสำรวจฯไปยังหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย เพื่อแจกแบบสำรวจให้กลุ่มตัวอย่าง 3.รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผลการสำรวจ 4.จัดทำรายงานสรุปผลการสำรวจความคิดเห็น 74 74

75 กองคลัง แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณในระบบ GFMIS เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. บันทึกรับหลักฐานขอเบิกที่ผ่านการอนุมัติให้เบิกเงินในทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิก และจัดส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 10 2. ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานขอเบิกให้ครบถ้วน ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ หนังสือสั่งการและแนวปฏิบัติที่กำหนด 30 3. บันทึกรายการขอเบิกเงินในระบบ GFMIS 20 4. จัดพิมพ์รายงานสรุปรายการขอเบิกเงิน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลการขอเบิกเงินทุกสิ้นวันทำการถัดไป 5. ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารของเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิรับเงิน ภายใน 6 วันทำการนับจากวันที่ได้รับหลักฐานขอเบิกเงิน 75

76 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษภายในระยะเวลาที่กำหนด และถูกต้องตามระเบียบ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. ขั้นตอนตรวจสอบรายละเอียดการจัดซื้อจัดจ้าง : เจ้าหน้าที่พัสดุตรวจสอบการดำเนินการตามระเบียบพัสดุ ข้อ 27 และระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้องและนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการ 20 2. ขั้นตอนตรวจสอบรายงานผลการจัดซื้อ/จัดจ้าง 3. ขั้นตอนคุมงบประมาณและจัดทำเอกสารเรียกผู้รับจ้าง/ผู้ขาย มาทำสัญญา 4. ขั้นตอนการทำสัญญา : จัดทำเอกสารสัญญา 2 ฉบับ เสนอเอกสารผ่านนิติกรเพื่อเสนอกรมลงนามในสัญญา 5. ขั้นตอนบันทึกข้อมูลในระบบ e-GP และดำเนินการทุกขั้นตอนแล้วเสร็จภายใน 20 วัน 76

77 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานการเงิน ในภาพรวมของกรม เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องบัญชีเงินสดในมือในงบทดลองทุกหน่วยเบิกจ่าย 20 2. - ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีพักสินทรัพย์ทุกประเภทในงบทดลองทุกหน่วยงานเบิกจ่าย - ดำเนินการตรวจสอบและติดตามทุกหน่วยเบิกจ่าย ให้ดำเนินการประมวลผลค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์รายตัวทุกเดือน 3. ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของงบทดลองทุกหน่วยเบิกจ่าย 4. ดำเนินการตรวจสอบทุกหน่วยเบิกจ่ายมีการบันทึกรายการปรับปรุงบัญชีตามเกณฑ์คงค้างในระบบ GFMIS ของปี 2558 ภายใน 30 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ 5. - รายงานการเงินของส่วนราชการต้องได้รับการรับรอง โดยมีความถูกต้องตามเกณฑ์ ข้อ 1-4 - จัดทำรายงานการเงินระดับกรมของปีงบประมาณ 2558 ส่งให้ สตง.ตรวจสอบ และสำเนารายงานให้กรมบัญชีกลางทราบ ภายใน 45 วัน นับจากวันสิ้นงบประมาณ 77

78 มีข้อมูลเชิงประจักษ์
กองแผนงาน แ3ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสารสนเทศ และการมี ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 20 คะแนน 40 คะแนน 60 คะแนน 80 คะแนน 100 คะแนน มีข้อมูลเชิงประจักษ์ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ข้อ 78

79 ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
1.มีฐานข้อมูลที่ครอบคลุมที่ใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน 2.มีระบบการวิเคราะห์ผลการดำเนินการ 3.มีระบบตรวจสอบความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จัดเก็บ ในระบบฐานข้อมูล 4.มีการอัพเดทข้อมูลที่จำเป็นอย่างสม่ำเสมอและทันท่วงที 5.มีระบบสืบค้นข้อมูลบนเว็บไซต์ของส่วนราชการที่มีประสิทธิภาพ 6. มีการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศจากข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียน 7. มีแนวทาง/มาตรการป้องกันความเสียหายและมีการสำรองข้อมูลสารสนเทศ (backup) 8. มีระบบรักษาความมั่นคงและปลอดภัยของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ 9. มีแผนบริหารความเสี่ยงด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ 10. มีระบบ Access Right ที่ถูกต้องและทันสมัย 79 79

80 ขั้นตอน ประเด็นการประเมินผล
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอน ประเด็นการประเมินผล 1-3 จัดทำนโยบายการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ข้อมูลประมาณการ รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็น และแผนความต้องการงบลงทุนเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 4 จัดทำเอกสาร/ข้อมูลคำของบประมาณรายจ่าย 5 จัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย 6-7 จัดทำเอกสารบทสรุปวงเงินงบประมาณ และเอกสารสรุปรายละเอียด ข้อมูลตามเอกสารงบประมาณ ที่ผ่านความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ 8 จัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณเสนอต่อ สำนักงบประมาณภายในเวลาที่กำหนด 80 80

81 ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ กรมอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ กรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ มาตรการที่ใช้ โดยกำหนดเป็นแผนงาน/โครงการกิจกรรม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ นโยบาย และความจำเป็นเร่งด่วน 20 2.การสื่อสารและการถ่ายทอดค่าเป้าหมาย และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย 3.การวิเคราะห์ความต้องการทางยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำ ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงสาธารณสุข และยุทธศาสตร์ศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ. 2559 4. การประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์กรมอนามัยประจำปี 2558 5. การทบทวนผลการดำเนินงานในปี 2558 การวิเคราะห์ความต้องการทาง ยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ. 2560 81 81

82 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แ2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการประเมินการพัฒนาองค์กรของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. จัดทำเครื่องมือการประเมินการพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน 20 2. ชี้แจงทำความเข้าใจกับหน่วยงาน เกี่ยวกับขั้นตอนการประเมิน 3. ประเมินการพัฒนาองค์กรของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย โดยใช้เครื่องมือการประเมินฯ และการเยี่ยมเสริมพลังหน่วยงาน 4. รวบรวมและวิเคราะห์ผลตามหลักสถิติ 5. มีรายงานสรุปผลการประเมินการพัฒนาองค์กรรายหน่วยงานและสรุปเป็นภาพรวมกรมอนามัย พร้อมข้อเสนอต่อการพัฒนาปรับปรุง 82 82

83 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความพึงพอใจของการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการ ดำเนินงานพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัยต่อกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละความพึงพอใจของการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ต่อกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 65 70 75 85 83 83

84 สำนักสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง
แ2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนการผลิตสื่อและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ผลิตสื่อและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อประเภทต่างๆ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ 1. ผลิตและเผยแพร่ผ่านหนังสือพิมพ์ จำนวน 20 ครั้ง (40 คะแนน) 12 14 16 18 2. ผลิตและเผยแพร่ผ่านสื่อโทรทัศน์ จำนวน 10 ครั้ง (30 คะแนน) 6 7 8 9 10 3. ผลิตและเผยแพร่ผ่านสื่อนิตยสาร จำนวน 3 ครั้ง (10 คะแนน) - 1 2 3 4. ผลิตและเผยแพร่ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ ภายในกรม จำนวน 10 ครั้ง (20 คะแนน) 4 84 84

85 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของกรมอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของกรมอนามัย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของกรมอนามัย 65 70 75 85 85

86 สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำและดำเนินงานตามแผนงาน พัฒนาความร่วมมือด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อมพื้นที่ชายแดนไทย ประจำปีงบประมาณ 2558 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.ทบทวน วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 20 2.จัดประชุมร่วมกันระหว่างหน่วยงานเพื่อกำหนดประเด็นความร่วมมือฯ ของพื้นที่ดำเนินการ 3.มีแผนงานพัฒนาความร่วมมือด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2558 4.มีการดำเนินงานภายใต้แผนงาน ปี 2558 สำเร็จร้อยละ 60 และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 5.มีการดำเนินงานภายใต้แผนงาน ปี 2558 สำเร็จร้อยละ 80 และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 86 86

87 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศ กรมอนามัย ปี เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศของกรมอนามัย ปี 2558 – 2561 20 2.จัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ฯ 3. ทบทวนข้อมูลความร่วมมือฯ วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก และจัดทำสรุปเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ 4.จัดประชุมหารือ ระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.มีแผนยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศ ของกรมอนามัย ปี 87 87

88 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรกรมอนามัยด้านต่างประเทศ เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. มีแผนงาน/โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมอนามัยด้านต่างประเทศ 20 2.มีหลักสูตร/รายละเอียดเนื้อหาการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมอนามัยด้านต่างประเทศ 3.มีผลการประเมินการจัดอบรม/การจัดกิจกรรม และข้อเสนอเพื่อการดำเนินงานในปีต่อไป 4.บุคลากรกรมอนามัยเข้ารับการพัฒนาศักยภาพร้อยละ 70 ของเป้าหมาย 5. บุคลากรกรมอนามัยเข้ารับการพัฒนาศักยภาพร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 88

89 สำนักสร้างและจัดการความรู้
แ3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนโครงการจัดการความรู้เชิงกลยุทธ์ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 จำนวนโครงการจัดการความรู้เชิงกลยุทธ์ 15 โครง การ 18 โครง 20 โครง 23 โครง 26 โครง 89 89

90 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับคะแนนเฉลี่ยของโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ระดับคะแนนเฉลี่ยของโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 ระดับคะแนนรวม Y = ∑ Ni Xi Zi โดยที่ Y = ระดับคะแนนเฉลี่ยของโครงการ Ni = จำนวนโครงการวิจัย Xi = น้ำหนักคะแนน Zi = จำนวนระดับโครงการ 90 เงื่อนไข : เป็นโครงการวิจัยที่ผ่านความเห็นชอบจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติผ่านในระบบ NRMS เท่านั้น 90

91 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จด้านมาตรฐานทางวิชาการของโครงการ พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1. ขออนุมัติโครงการวิจัยและจัดทำแผนปฏิบัติงานวิจัยในระบบงาน NRPM - Ongoing Monitoring โดยนักวิจัย 20 2. ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแผนงานวิจัยในระบบงาน NRPM - Ongoing Monitoring โดยผู้ประสานหน่วยงานย่อย 3. รายงานความก้าวหน้าใน ระบบงาน NRPM - Ongoing Monitoring รอบ 9 เดือน และ 12 เดือน 4.โครงการวิจัยได้รับใบรับรองจริยธรรมการวิจัย 5.โครงการผ่านการประเมินคุณภาพก่อนการเผยแพร่ตามแบบฟอร์มที่กำหนดระดับดีมาก (ร้อยละ80) รวม 100 91 91

92 ปฏิทินดำเนินการ ติดตามผลระดับกรมปี 2557 กำหนดกรอบแนวทางปี 2558 และ
มอบหมายเจ้าภาพตัวชี้วัด 7 ต.ค.57 ประชุมหน่วยงานวิชาการพิจารณาตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล ระดับกรมและหน่วยงาน 16 พ.ย. 57 ประชุม Conference เพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน 9 ธ.ค.57 24-25 ธ.ค.57 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินให้หน่วยงาน ลงนามคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน ม.ค.58 92 92


ดาวน์โหลด ppt การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 1 /2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google