งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 : ความสัมพันธ์ของ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของไทยและสากล เรื่อง : การใช้หลักฐานและ องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล ครูผู้สอน…. นายธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกลกังวล ตรูธีระพล เข่งวา

2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์สากล ตรูธีระพล เข่งวา

3 หลักฐานที่ใช้มีลักษณะเด่น อย่างน้อย 3 ประการ
1. พัฒนาการของมนุษยชาติ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ หลักฐานที่ใช้มีลักษณะเด่น อย่างน้อย 3 ประการ ตรูธีระพล เข่งวา

4 เครื่องมือหินกะเทาะหยาบๆ เครื่องมือหินขัด
4 1. โบราณวัตถุ เครื่องมือหินกะเทาะหยาบๆ เครื่องมือหินขัด เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่ทำจาก ทองแดง สำริดและเหล็ก เครื่องปั้นดินเผาที่ทำเป็นภาชนะ ต่างๆ ลูกปัด เปลือกหอย ตรูธีระพล เข่งวา

5 แหล่งที่อยู่อาศัย ได้แก่…….
5 2. โบราณสถาน แหล่งที่อยู่อาศัย ได้แก่……. ถ้ำ เนินผาหิน เนินดินใกล้ธารน้ำ สถานที่ฝังศพ สถานที่ ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา ตรูธีระพล เข่งวา

6 ( ทำขึ้นตามผนังถ้ำ เพิงหิน หรือ เพดานถ้ำ)
6 3. โบราณศิลปกรรม ภาพเขียนสี ภาพจำหลัก ( ทำขึ้นตามผนังถ้ำ เพิงหิน หรือ เพดานถ้ำ) ตรูธีระพล เข่งวา

7 7 ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้ำผาหมอนน้อย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี แสดงถึงการรู้จักปลูกข้าว และใช้ควายไถนา ตรูธีระพล เข่งวา

8 8 ภาพเขียนสีที่แสดงถึงเรื่องราวการดำรง ชีวิตของมนุษย์บนผนังเพดานถ้ำบริเวณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าผาผึ้ง ตรูธีระพล เข่งวา

9 ถ้ำในพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว
9 ถ้ำในพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ตรูธีระพล เข่งวา

10 เครื่องมือเครื่องใช้ในสมัยโบราณก่อน ยุคประวัติศาสตร์
10 เครื่องมือเครื่องใช้ในสมัยโบราณก่อน ยุคประวัติศาสตร์ ตรูธีระพล เข่งวา

11 2. พัฒนาการของมนุษยชาติ ยุคประวัติศาสตร์
11 2. พัฒนาการของมนุษยชาติ ยุคประวัติศาสตร์ หลักฐานที่ใช้มีลักษณะเด่น อย่างน้อย 2 ประการ ตรูธีระพล เข่งวา

12 12 2.1 หลักฐานทางด้านโปราณคดี (หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร) : Unwritten Sources ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆอาวุธ,เหรียญ- ตรา,เงินตรา,ศิลปะ,นาฏกรรมและดนตรี ตรูธีระพล เข่งวา

13 2.2 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร : Written Sources
13 2.2 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร : Written Sources 1. หลักฐานขั้นต้น(เอกสารร่วมสมัย ที่เกิดขึ้นพร้อมเหตุการณ์) หลักศิลาจารึก/หนังสือพิมพ์ จดหมายเหตุ/บันทึกใบลาน สมุดข่อย เอกสารทางราชการต่างๆ ตรูธีระพล เข่งวา

14 2. หลักฐานขั้นรอง (บันทึกหลังเหตุการณ์ต่างๆ)
14 2. หลักฐานขั้นรอง (บันทึกหลังเหตุการณ์ต่างๆ) พงศาวดาร/ตำนาน นิทานพื้นบ้าน นิยายปรัมปรา เพลงพื้นบ้าน วารสาร,บทความ ตรูธีระพล เข่งวา

15 แบ่งออกได้ 3 ช่วงสมัย 3. องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล 15
ตรูธีระพล เข่งวา

16 + 1. งานประวัติศาสตร์สมัยโบราณ มีลักษณะ... กึ่งประวัติ ศาสตร์
16 1. งานประวัติศาสตร์สมัยโบราณ มีลักษณะ... กึ่งประวัติ ศาสตร์ + ตำนานทาง ศาสนา ตรูธีระพล เข่งวา

17 นักประวัติศาสตร์สมัยโบราณถือว่า..
17 นักประวัติศาสตร์สมัยโบราณถือว่า.. ตรูธีระพล เข่งวา

18 เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก บิดาแห่งวิชาประวัติศาสตร์
18 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก บิดาแห่งวิชาประวัติศาสตร์ ตรูธีระพล เข่งวา

19 2. งานประวัติศาสตร์สมัยกลางหรือ สมัยฟิวดัล (Feudul)
19 2. งานประวัติศาสตร์สมัยกลางหรือ สมัยฟิวดัล (Feudul) เริ่มตั้งแต่การล่มสลายของอาณาจักร โรมันตะวันตก ในปี ค.ศ. 476 จน กระทั่ง การล่มสลายของอาณาจักรโรมัน ตะวันออก ในปี ค.ศ. 1492 ตรูธีระพล เข่งวา

20 + งานประวัติศาสตร์ในสมัยฟิวดัลจะ เป็นงาน : ศาสนา พระผู้เป็นเจ้า 20
งานประวัติศาสตร์ในสมัยฟิวดัลจะ เป็นงาน : + ศาสนา พระผู้เป็นเจ้า ตรูธีระพล เข่งวา

21 นักบุญออกัสติน นักประวัติศาสตร์สมัยกลาง
21 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. นักบุญออกัสติน นักประวัติศาสตร์สมัยกลาง ตรูธีระพล เข่งวา

22 ผลงานที่มีชื่อเสียง คือ...
22 นครของพระเจ้า หรือ เทวนคร (City of God) 1. นครปีศาจ หรือ มนุษยนคร เมืองแห่งความชั่วร้าย 2. เทวนคร (อาณาจักรของพระเจ้า) เมืองแห่งความดี ตรูธีระพล เข่งวา

23 3. งานประวัติศาสตร์สมัยใหม่
23 3. งานประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ได้รับ... อิทธิพลของวิทยาศาสตร์ ระเบียบวิธีคิดแบบวิทยาศาตร์ มุ่งเข้าใจประวัติศาสตร์ด้วยกฎเกณฑ์ แห่งเหตุผลให้ได้มาซึ่งความจริง ตรูธีระพล เข่งวา

24 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง..
24 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. เลโอปอลด์ ฟอน รังเกอ (Leopold Von Ranke ค.ศ ) ตรูธีระพล เข่งวา

25 ประวัติศาสตร์ของสันตะปาปา (The History of the popes)
25 เป็นผู้ริเริ่ม : ระเบียบวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ (Historical Method) ผลงานที่สำคัญ คือ... ประวัติศาสตร์ของสันตะปาปา (The History of the popes) ตรูธีระพล เข่งวา

26 โยงเส้นให้สัมพันธ์กัน หลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร
26 โยงเส้นให้สัมพันธ์กัน หลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร ปรางค์สามยอด รูปพระโพธิสัตว์ อวโลติเกศวร ตำนาน จดหมายเหตุ ศิลาจารึก เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ใบบอก โครงกระดูก พระที่นั่งจักรีฯ เครื่องปั้นดินเผา พระราชพงศาวดาร ตรูธีระพล เข่งวา

27 1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความ สำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ อย่างไร
27 คำถามหลังเรียน 1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความ สำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ อย่างไร 2. เพราะเหตุใดหลักฐานขั้นต้นหรือ ฐานหลักร่วมสมัยจึงมีน้ำหนักหรือ ความน่าเชื่อถือได้มากกว่าหลักฐาน ขั้นรอง ตรูธีระพล เข่งวา

28 4. จงอธิบายลักษณะประวัติศาสตร์ แบบตำนานและแบบพงศาวดาร มาพอเข้าใจ
28 3. การใช้จารึกหรือตำนานในการศึกษา ประวัติศาสตร์ต้องมีความระมัดระวัง ในเรื่องใด เพราะเหตุใด 4. จงอธิบายลักษณะประวัติศาสตร์ แบบตำนานและแบบพงศาวดาร มาพอเข้าใจ ตรูธีระพล เข่งวา

29 พบกันใหม่ เรื่อง :ความหมายของ ประวัติศาสตร์
29 พบกันใหม่ เรื่อง :ความหมายของ ประวัติศาสตร์ ขอขอบคุณฝ่ายผลิตรายการทุกท่าน ตรูธีระพล เข่งวา


ดาวน์โหลด ppt โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google