งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ
การดำเนินงานลูกเสือ ในสถานศึกษา โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน

2 ( Non - formal education movement )
กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมที่ให้การศึกษาแก่เยาวชน โดยไม่มี การแบ่งแยก กีดกัน ในเรื่องเชื้อชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ลัทธิใด ศาสนาใด รวมทั้งไม่อยู่ภายใต้ อิทธิพลทางการเมือง วงการศึกษาทั่วโลกถือว่า เป็นการศึกษานอกระบบ ( Non - formal education movement )

3 WOSM : WORLD ORGANIZATION OF
THE SCOUT MOVEMENT ๑๖๐ ประเทศ ; กว่า ๒๘ ล้านคน

4 WOSM : World Organization of the Scout Movement
การลูกเสือนานาชาติ WOSM : World Organization of the Scout Movement www. scout.org NSOT : National Scout Organization of Thailand www. bureausrs.org

5 ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือทั้งในสถานศึกษา
การลูกเสือไทย ... เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา ส่วนลูกเสือที่เป็นหญิง ให้เรียกว่า “ เนตรนารี ” ( มาตรา ๔ พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ )

6 ศาลาวชิราวุธ สนามกีฬาแห่งชาติ ถนนพระราม ๑ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
การลูกเสือไทย สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ศาลาวชิราวุธ สนามกีฬาแห่งชาติ ถนนพระราม ๑ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๒๑๙ ๒๗๓๑ , ๐ ๒๒๑๖ ๓๔๙๓ โทรสาร : ๐ ๒๒๑๙ ๒๑๐๘ , ๐ ๒๒๑๖ ๓๔๙๓

7 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อาคารเสมารักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
การลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อาคารเสมารักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ , โทรสาร : ๐ ๒๖๒๘ ๖๓๖๕

8 การประเมินคุณภาพงานลูกเสือในสถานศึกษา
ด้านผู้บริหาร ด้านลูกเสือ ด้านการจัด กิจกรรมลูกเสือ ด้าน ผู้กำกับลูกเสือ

9 กิจกรรมลูกเสือตาม พ.ร.บ. ฉบับใหม่
มาตรา ๗๔ ในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวง ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นำกฎกระทรวง ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๗ ที่ใช้อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาบังคับใช้โดยอนุโลม

10 สาระสำคัญของการลูกเสือ
หลักการ ( Principle ) วัตถุประสงค์ ( Purpose ) วิธีการ ( Method )

11 หลักการของการลูกเสือ ภารกิจต่อพระผู้เป็นเจ้า
๑. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ ๒. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ ๓. ยอมรับและเคารพในความถูกต้อง เกียรติ ศักดิ์ศรี ของเพื่อนมนุษย์ ๔. พัฒนาสังคม ส่งเสริม สนับสนุน สันติสุขและสันติภาพ ๕. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๖. ยึดมั่นในคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ภารกิจต่อพระผู้เป็นเจ้า (DUTY TO GOD) ภารกิจต่อบุคคล ภารกิจต่อตัวเอง (DUTY TO OTHERS) (DUTY TO SELF)

12 วัตถุประสงค์คณะลูกเสือแห่งชาติ
เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุข และความมั่นคงของประเทศชาติ ( มาตรา ๘ พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ )

13 วิธีการฝึกอบรมลูกเสือ
เป็นการศึกษาด้วยตนเองให้เกิดความก้าวหน้าโดยอาศัย ๑. คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ๒. การเรียนรู้ด้วยการกระทำ ๓. การใช้ชีวิตกลางแจ้ง โดยเน้นทักษะในการดำรงชีวิต ๔. ระบบหมู่ ระบบเครื่องหมายวิชาพิเศษ ๕. พิธีการต่าง ๆ ๖. การใช้เพลง การเล่น นิทาน ฯลฯ ประกอบการฝึกอบรม

14 กิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา
๑. การจัดหน่วยลูกเสือ - เนตรนารี ๒. การเรียกชื่อ กลุ่ม, กอง, หมู่ลูกเสือ ๓. รหัสของลูกเสือ ๔. การสัมผัสมือ ๕. การแสดงความเคารพ ๖. คติพจน์ คำปฏิญาณและกฎ ของลูกเสือ

15 ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ( Senior Scout ) อายุ ๑๔ - ๑๘ ปี
การจัดประเภทลูกเสือ ลูกเสือสำรอง ( Cub Scout ) อายุ ๘ - ๑๑ ปี ลูกเสือสามัญ ( Boy Scout ) อายุ ๑๑ - ๑๖ ปี ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ( Senior Scout ) อายุ ๑๔ - ๑๘ ปี ลูกเสือวิสามัญ ( Rover Scout ) อายุ ๑๖ - ๒๕ ปี

16 ลูกเสือ ๒ - ๖ หมู่ ๆ ละ ๔ - ๖ คน สำรอง
การตั้งกองลูกเสือ สำรอง ลูกเสือ ๒ - ๖ หมู่ ๆ ละ ๔ - ๖ คน สามัญ ลูกเสือ ๒ - ๖ หมู่ ๆ ละ ๖ - ๘ คน สามัญรุ่นใหญ่ ลูกเสือ ๒ - ๖ หมู่ ๆ ละ ๔ - ๘ คน วิสามัญ ลูกเสือ ๑๐ - ๔๐ คน จัดเป็นชุด/หมู่ละ ๔ - ๖ คน

17 Diagram กลุ่มสมบูรณ์ : ประกอบด้วย กองลูกเสือ ๔ กอง ประเภทละ ๑ กอง
การตั้งกลุ่มลูกเสือ กลุ่มสมบูรณ์ : ประกอบด้วย กองลูกเสือ ๔ กอง ประเภทละ ๑ กอง กลุ่มไม่สมบูรณ์ : ประกอบด้วย กองลูกเสือ ๒ - ๓ ประเภท ประเภทละ ๒ กอง หรือ ประเภทเดียว ๔ กอง

18 หลักสูตรลูกเสือสำรอง
เตรียมลูกเสือสำรอง ดาวดวงที่ ๑ ข้อบังคับ คณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๒ ดาวดวงที่ ๒ ดาวดวงที่ ๓ วิชาพิเศษ ( ๑๘ วิชา )

19 ๑. นิยายเรื่องเมาคลี และประวัติกิจการลูกเสือสำรอง
เตรียมลูกเสือสำรอง ๑. นิยายเรื่องเมาคลี และประวัติกิจการลูกเสือสำรอง ๒. การทำความเคารพเป็นหมู่ ( แกรนด์ฮาวล์ ) ๓. การทำความเคารพเป็นรายบุคคล ๔. คติพจน์ คำปฏิญาณและกฎ การจับมือซ้าย ๕. ระเบียบแถวเบื้องต้น

20 ๑. อนามัย ๒. ความสามารถเชิงทักษะ ๘. การฝีมือ ๓. การสำรวจ
หลักสูตร ดาวดวงที่ ๑ , ๒ , ๓ ๑. อนามัย ๒. ความสามารถเชิงทักษะ ๓. การสำรวจ ๔. การค้นหาธรรมชาติ ๕. ความปลอดภัย ๖. บริการ ๗. ธงและประเทศต่าง ๆ ๘. การฝีมือ ๙. กิจกรรมกลางแจ้ง ๑๐. การบันเทิง ๑๑. การผูกเงื่อน ๑๒. คำปฏิญาณและกฎ

21 ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๕
หลักสูตรลูกเสือสามัญ ลูกเสือตรี วิชาพิเศษ ๕๔ วิชา ลูกเสือโท ลูกเสือเอก ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๕

22 ๑. ความรู้เกี่ยวกับขบวนการลูกเสือ
ลูกเสือตรี ๑. ความรู้เกี่ยวกับขบวนการลูกเสือ - ประวัติลอร์ดเบเดน โพเอลล์ , พระราชประวัติรัชกาลที่ ๖ - วิวัฒนาการของลูกเสือโลก , ลูกเสือไทย ๒. คำปฏิญาณและกฏ ๓. กิจกรรมกลางแจ้ง ๔. ระเบียบแถว สัญญาณมือและนกหวีด

23 ๓. การเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ ๔. ทักษะในทางวิชาลูกเสือ
ลูกเสือโท ๑. การรู้จักดูแลตนเอง ๒. การช่วยเหลือผู้อื่น ๓. การเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ ๔. ทักษะในทางวิชาลูกเสือ ๕. คำปฏิญาณและกฎ ๖. ระเบียบแถว ๗. งานอดิเรกและเรื่องที่สนใจ

24 ๑. การพึ่งตนเอง ๒. การบริการ ๓. การผจญภัย ๔. วิชาการของลูกเสือ
ลูกเสือเอก ๑. การพึ่งตนเอง ๒. การบริการ ๓. การผจญภัย ๔. วิชาการของลูกเสือ ๕. ระเบียบแถว

25 หลักสูตรลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ คณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๘
ลูกเสือโลก ข้อบังคับ คณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๘ ลูกเสือชั้นพิเศษ ลูกเสือหลวง วิชาพิเศษ ๗๖ วิชา

26 เครื่องหมายลูกเสือโลก
๑. กิจการลูกเสือโลก ลูกเสือไทย ๒. คำปฏิญาณและกฎ ๓. ระเบียบแถว ๔. การเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมโดยการกางเต๊นท์ ๕. แผนที่ เข็มทิศ เงื่อนและการผูกแน่น ๖. การปฐมพยาบาล

27 เครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ
๑. ได้รับเครื่องหมายลูกเสือโลก ๒. สอบวิชาพื้นฐานระดับลูกเสือชั้นพิเศษ ๕ วิชา บังคับ วิชาการเดินทางสำรวจ วิชาบริการ ๓. ผ่านการฝึกอบรมวิชาความคิดริเริ่ม ๔. คณะกรรมการดำเนินงานของกองและผู้กำกับเห็นสมควร ๕. เลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ หรือ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด เป็นผู้อนุมัติเครื่องหมาย

28 เครื่องหมายลูกเสือหลวง
๑. ได้รับเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ ๒. สอบวิชาพื้นฐานระดับลูกเสือชั้นพิเศษ ๓ วิชา ที่นอกเหนือจาก ๕ วิชา เมื่อสอบเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ ๓. สอบได้วิชาบริการ และวิชาพื้นฐานลูกเสือหลวง ๓ วิชา ๔. ผ่านการฝึกอบรมวิชา การเป็นผู้นำ ๕. คณะกรรมการดำเนินงานของกองและผู้กำกับเห็นสมควร ๖. เลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ หรือ ผู้อำนวย การลูกเสือจังหวัดแต่งตั้งผู้สอบสัมภาษณ์ และรายงานผลให้ คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติอนุมัติ

29 ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๙
หลักสูตรลูกเสือวิสามัญ ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๙ เตรียม ลูกเสือ วิสามัญ วิชาพิเศษ ๑๑ วิชา ลูกเสือ วิสามัญ

30 การฝึกอบรมลูกเสือ - เนตรนารีวิสามัญ
มีดังนี้คือ ๑. การฝึกอบรมร่วมกันทั้งกอง ๒. การฝึกอบรมเพื่อรับเครื่องหมายลูกเสือโลก ๓. การฝึกอบรมเพื่อรับเครื่องหมายวิชาพิเศษ ๔. การรับหน้าที่คณะกรรมการประจำกองหรือพี่เลี้ยง

31 การเปิดประชุมกองลูกเสือสำรอง
๑. พิธีเปิด ( แกรนด์ฮาวล์ ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก ) ๒. เกมหรือเพลง ๓. การเรียนวิชาการตามหลักสูตร ๔. การเล่าเรื่องสั้นที่เป็นประโยชน์ ๕. พิธีปิด - ทำวงกลมเล็กเพื่อนัดหมาย - ขยายเป็นวงกลมใหญ่ - ตรวจเครื่องแบบ - แกรนด์ฮาวล์ ชักธงลง เลิก

32 การเปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ วิสามัญ
การเปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ วิสามัญ ๑. พิธีเปิด ( ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก ) ๒. เกมหรือเพลง ( ตามประเภทลูกเสือ ) ๓. การเรียนวิชาการตามหลักสูตร ( ตามประเภทลูกเสือ ) ๔. การเล่าเรื่องสั้นที่เป็นประโยชน์ ( ตามประเภทลูกเสือ ) ๕. พิธีปิด ( นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลิก )

33 การเดินทางไกลอยู่ค่ายพักแรม
การเดินทางไกลอยู่ค่ายพักแรม เป็นหัวใจของการลูกเสือ มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกให้ลูกเสือ-เนตรนารี มีความอดทน มีระเบียบวินัย รู้จักช่วยตนเองและผู้อื่น รู้จักการดำรงชีวิต และทำงานร่วมกับคนอื่น ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ กำหนดให้นำลูกเสือไปเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ๆ ละอย่างน้อย หนึ่งคืน

34 กิจกรรมที่สำคัญทางการลูกเสือ
๑. วันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ( ๑ กรกฎาคม ) ๒. วันวชิราวุธ ( ๒๕ พฤศจิกายน ) ๓. งานชุมนุมลูกเสือ ( Jamboree ) - ในประเทศ - ในต่างประเทศ - ทางอากาศ ( JOTA ) , ทาง Internet ( JOTI ) ๔. เวทีอภิปรายเยาวชน ( Youth Forum ) ๕. การประชุมสภาลูกเสือแห่งชาติ ๖. งานชุมนุมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ( Indaba )

35 ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
๑. เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย มีศาสนา ๒. เป็นผู้มีสัญชาติไทย สมัครใจ ๓. มีอาชีพที่สุจริต ๔. ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจของสังคม ๕. เข้าใจวัตถุประสงค์และวิธีการของการลูกเสือ

36 ผู้บังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา
๑. ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ๒. รองผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ๓. ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ ๔. รองผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ ๕. ผู้กำกับกองลูกเสือ ๖. รองผู้กำกับกองลูกเสือ ๗. นายหมู่ลูกเสือ ๘. รองนายหมู่ลูกเสือ

37 ระดับที่ ๑ การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ
การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยแผนการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๑ ระดับที่ ๑ การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ ระดับที่ ๒ การให้การฝึกอบรมแก่ผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือแล้ว

38 ขั้นที่ ๑ : ขั้นความรู้ทั่วไป General Information Course
ขั้นที่ ๑ : ขั้นความรู้ทั่วไป General Information Course ขั้นที่ ๒ : ขั้นความรู้เบื้องต้น Basic Unit Leader Training Course ขั้นที่ ๓ : ขั้นฝึกหัดงาน In – Service Training ขั้นที่ ๔ : ขั้นความรู้ชั้นสูง Advanced Unit Leader Training Course ขั้นที่ ๕ : ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล Application and Evaluation ระดับที่ ๑ วิชาผู้กำกับลูกเสือ

39 ข้อ ๘ ในกรณีที่เห็นสมควร เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้า
ของกิจการลูกเสือ ให้ผู้ตรวจการลูกเสือฝ่าย- ฝึกอบรม มีอำนาจผ่อนผันหลักเกณฑ์ตาม ขั้นตอนต่างๆ ได้ตามควรแก่กรณี ประกาศ ณ วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ พลเอกมานะ รัตนโกเศศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

40 ระดับที่ ๒ การให้การฝึกอบรมแก่ผู้ที่ ผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือแล้ว
ขั้นที่ ๑ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ Assistant Leader Trainers Course ขั้นที่ ๒ ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ Leader Trainers Course

41 การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ Assistant Leader Trainers Course ผู้มีสิทธิเข้ารับการฝึกอบรม ๑. ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อน ประเภทลูกเสือใดก็ได้ ยกเว้นผู้นำ ( ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๙ ) มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี ๒. อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม BTC ไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง ๓. มีคุณลักษณะเหมาะสม และต้นสังกัดสนับสนุนให้เข้าฝึกอบรม

42 การได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน
๑. ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อน มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี และผ่านการฝึกอบรม ALTC มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๒. อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม BTC , ATC , ALTC ไม่น้อยกว่า ๖ ครั้ง ๓. ทำรายงานเสนอไปตามลำดับ ไปยัง สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

43 การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ Leader Trainers Course ผู้มีสิทธิเข้ารับการฝึกอบรม ๑. ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๒. ทำหน้าที่ผู้อำนวยการฝึก BTC ไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง และอยู่ ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม ATC ไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง ๓. มีคุณลักษณะเหมาะสม และต้นสังกัดสนับสนุนให้เข้า รับการฝึกอบรม

44 การได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน
๑. ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี และผ่านการฝึกอบรม LTC มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๒. ทำหน้าที่ผู้อำนวยการฝึก BTC ไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง และ อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม ATC , ALTC , LTC ไม่น้อยกว่า ๔ ครั้ง ๓. ทำรายงานเสนอไปตามลำดับ ไปยัง สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

45 เข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
ชั้นที่หนึ่ง ชั้นที่สอง ชั้นที่สาม

46 เข็มลูกเสือสมนาคุณ ชั้นพิเศษ ชั้นที่หนึ่ง ชั้นที่สอง ชั้นที่สาม

47 เหรียญลูกเสือและการยกย่องเชิดชูเกียรติ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ 47

48 เหรียญลูกเสือสดุดี 48

49 เหรียญลูกเสือสรรเสริญ
49

50 เหรียญลูกเสือยั่งยืน
ด้านหน้า ด้านหลัง

51 Q and A

52 สวัสดีครับ

53 แบบพิมพ์ลูกเสือ ลส. 1 คำร้องขอจัดตั้ง กลุ่ม , กอง ลูกเสือ
ลส. 1 คำร้องขอจัดตั้ง กลุ่ม , กอง ลูกเสือ ลส. 2 ใบสมัครเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ลส. 3 ใบสมัครเข้าเป็นลูกเสือ ลส. 4 ใบโอนกองลูกเสือ ลส. 5 รายงานการลูกเสือประจำปี ลส. 6 ทะเบียนลูกเสือสำรอง ลส. 7 ทะเบียนลูกเสือสามัญ

54 แบบพิมพ์ลูกเสือ ลส. 8 ทะเบียนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ลส ทะเบียนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ลส ทะเบียนลูกเสือวิสามัญ ลส. 10 รายงานการเงินลูกเสือ ลส. 11 ใบตั้งกลุ่มลูกเสือ ลส. 12 ใบตั้งกองลูกเสือ ลส. 13 ใบแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ลส ใบสำคัญคู่เข็มลูกเสือสมนาคุณ

55 แบบพิมพ์ลูกเสือ ลส. 15 บัตรประจำตัวลูกเสือสำรอง
ลส บัตรประจำตัวลูกเสือสำรอง ลส บัตรประจำตัวลูกเสือสามัญ ลส บัตรประจำตัวลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ลส บัตรประจำตัวลูกเสือวิสามัญ ลส ใบเสร็จรับเงินค่าบำรุงลูกเสือ

56 ค่าบำรุงลูกเสือ 1. ลูกเสือ : คนละไม่เกิน 5 บาท / ปี
1. ลูกเสือ : คนละไม่เกิน 5 บาท / ปี 2. ผู้บังคับบัญชา : คนละไม่เกิน 10 บาท / ปี 3. การแบ่งเงินค่าบำรุงลูกเสือ - ส่งสำนักงานลูกเสือโลก บาท / คน - ใช้จ่ายในกลุ่ม , กองลูกเสือ % - ส่งสำนักงานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ 8 % จังหวัด 8 % และเขตการศึกษา 8 % - ส่งสำนักงานคณะกรรมการบริหารฯ 6 %

57 ค่าบำรุงลูกเสือ กองลูกเสือที่ขึ้นตรงต่อเทศบาล
- ส่งสำนักงานลูกเสือโลก บาท / คน - ใช้จ่ายในกลุ่ม , กองลูกเสือ 78 % ( 3.51 ) - ส่งสำนักงานเทศบาล 16 % ( 0.72 ) - ส่งสำนักงานคณะกรรมการบริหารฯ 6 % ( 0.27 ) ค่าบำรุงลูกเสือที่เก็บจากผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้เป็น ค่าใช้จ่ายของสำนักงานที่ ผบ.ลส. สังกัดอยู่


ดาวน์โหลด ppt โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google