งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
(องค์การมหาชน) Thailand Professional Qualification Institute : TPQI

2 คณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสมาคมธนาคารไทย ประธานหอการค้า ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

3 วัตถุประสงค์การจัดตั้ง
ดำเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ ให้การรับรององค์กรที่มีหน้าที่รับรองรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ติดตามและประเมินผลองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ รวมทั้งระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความโปร่งใสและยุติธรรม เป็นศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ ส่งเสริมและประสานความร่วมมือกับสถานศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม สถานประกอบการ หน่วยงานรัฐและเอกชนในการเผยแพร่ระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

4 1. ดำเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนา
ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ

5 และพัฒนาระบบคุณวุฒิ-วิชาชีพ
TPQF Level 1 Level 2 Level 3 Level 4 Level 5 Level 6 Level 7 Level 8 Level 9 NQF AQRF ดำเนินการศึกษาวิจัย และพัฒนาระบบคุณวุฒิ-วิชาชีพ Level 1 Level 2 Level 3 Level 4 Level 5 Level 6 Level 7 Level 8 Level 7 Level 6 Level 5 Level 4 Level 3 Level 2 สปา Level 5 Level 4 Level 3 Level 2 Level 1

6 ดำเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ
ประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ประชาพิเคราะห์ กำหนดอาชีพ ที่ปรึกษา จัดทำมาตรฐานอาชีพ ตัวแทนผู้ประกอบอาชีพ ตรวจประเมินและ จัดตั้งองค์กรรับรอง สคช.+สอศ./ภาคการศึกษา ทดสอบสมรรถนะตาม มาตรฐานอาชีพ ฝึกอบรมเพิ่มเติม ปรับหลักสูตรเป็น ฐานสมรรถนะ หนังสือรับรองมาตรฐานอาชีพ/ ประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ เทียบเคียง ตาม NQF คุณวุฒิการศึกษา+สมรรถนะ ความก้าวหน้าทางอาชีพ

7 | เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน | รองรับการเคลื่อนย้ายแรงงาน |
คุณค่าของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ | ฝึกฝนสมรรถนะ | ค่าตอบแทน | ความก้าวหน้าในอาชีพ | สถานประกอบการ สถาบัน การศึกษา ประเทศ พนักงาน | สรรหา | พัฒนา | ประเมิน | เพิ่มผลิตภาพ | | เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน | รองรับการเคลื่อนย้ายแรงงาน | Four-part teardrop graphic in perspective Select the second oval. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: (Advanced) To reproduce the effects on this slide, do the following: In the Horizontal box, enter 5.33”. On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click Purple, Accent 4, Darker 25% (fifth row, eighth option from the left). On the Home tab, in the Drawing group, click Shapes, and then under Basic Shapes click Teardrop (second row, fourth option from the left). On the slide, drag to draw a teardrop shape. Click the text in the second oval, and then edit as needed. Select the teardrop shape. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Size group, do the following: Select the bottom left teardrop shape. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: In the Shape Height box, enter 2.45”. In the Shape Width box, enter 2.45”. On the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click Fill in the left pane. In the Fill pane, select Solid fill, click the button next to Color, and then click White, Background 1, Darker 35% (fifth row, first option from the left). In the Vertical box, enter 3.53”. Select the oval on the top left teardrop shape. Press and hold CTRL and SHIFT (to duplicate and constrain the duplicate shape to a perpendicular axis), and then drag the oval onto the bottom left teardrop shape to create a third oval. Also in the Format Shape dialog box, click Line Color in the left pane, and then select No line in the Line Color pane. Also in the Format Shape dialog box, click 3-D Format in the left pane, and then do the following in the 3-D Format pane: Select the third oval. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: Under Bevel, click the button next to Top, and then under Bevel click Circle (first row, first option from the left). Next to Top, in the Width box, enter 10 pt, and in the Height box, enter 10 pt. Click the button next to Bottom, and then under Bevel click Circle (first row, first option from the left). Next to Bottom, in the Width box, enter 10 pt, and in the Height box, enter 10 pt. In the Vertical box, enter 3.7”. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click Blue, Accent 1 (first row, fifth option from the left). Click the text in the third oval, and then edit as needed. Under Surface, click the button next to Material, and then under Standard click Warm Matte (second option from the left). Click the button next to Lighting, and then under Neutral click Balance (first row, second option from the left). Select the bottom right teardrop shape. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: Select the teardrop shape. Press and hold CTRL and SHIFT (to duplicate and constrain the duplicate shape to a perpendicular axis), and then drag the teardrop shape to the right on the slide to create a duplicate. Select the third oval on the bottom left teardrop shape. Press and hold CTRL and SHIFT (to duplicate and constrain the duplicate shape to a perpendicular axis), and then drag the oval onto the bottom right teardrop shape to create a fourth oval. Select the duplicate teardrop shape. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Rotate, and then click Flip Horizontal. Press and hold SHIFT and select both teardrop shapes. Select the fourth oval. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: Press and hold CTRL and SHIFT (to duplicate and constrain the duplicate shapes to a perpendicular axis), and then drag the teardrop shapes to the right on the slide to create two duplicate teardrop shapes. Press and hold SHIFT and select the two new teardrop shapes. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Rotate, and then click Flip Vertical.  On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click Orange, Accent 6, Darker 50% (sixth row, 10th option from the left). On the slide, drag the two new duplicate teardrop shapes directly above the original teardrop shapes. Select the top left teardrop. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: To edit the text in the fourth oval, right-click the oval and click Edit Text. Press CTRL+A to select all of the shapes on the slide. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, and then click Group. In the Horizontal box, enter 2.5”. On the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click 3-D Rotation in the left pane, and then do the following in the 3-D Rotation pane: In the Vertical box, enter 0.83”. On the Home tab, in the Drawing group, click Shapes, and then under Basic Shapes click Oval (first row, second option). On the slide, drag to draw an oval. Click the button next to Presets, and then under Perspective click Perspective Front (first row, first option from the left). Select the oval. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Size group, do the following: In the Shape Height box, enter 2.11”. In the X box, enter 325°. In the Shape Width box, enter 2.11”. In the Y box, enter 325°. In the Z box, enter 40°. Select the oval. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: In the Perspective box, enter 40°. Also in the Format Shape dialog box, click Shadow in the left pane. In the Shadow pane, click the button next to Presets, and then under Outer click Offset Center (second row, second option from the left). In the Horizontal box, enter 2.67”. In the Vertical box, enter 1”. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click Olive Green, Accent 3, Darker 25% (fifth row, seventh option from the left). To reproduce the background on this slide, do the following: Right-click the slide background area, and then click Format Background. In the Format Background dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the Fill pane, and then do the following: On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Outline, and then click No Outline. In the Type list, select Linear. On the Home tab, in the Drawing group, click Shape Effects, point to Shadow, and then under Inner click Inside Diagonal Top Right (first row, third option from the left). Click the button next to Direction, and then click Linear Diagonal (first row, first option from the left). In the Angle box, enter 45°. Right-click the oval and click Edit Text. Under Gradient stops, click Add or Remove until two stops appear in the drop-down list. Enter text in the text box, select the text, and then on the Home tab, in the Font group, select Trebuchet MS from the Font list, select 28 from the Font Size list, click the button next to Font Color, and then under Theme Colors click White, Background 1, Darker 5% (second row, first option from the left). Also under Gradient stops, customize the gradient stops that you added as follows: Select Stop 1 from the list, and then do the following: In the Stop position box, enter 0%. On the Home tab, in the Paragraph group, click Center to center the text in the oval. Click the button next to Color, and then under Theme Colors click White, Background 1 (first row, first option from the left). Select the top right teardrop shape. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the bottom right corner of the Size group, click the Size and Position dialog box launcher. In the Size and Position dialog box, on the Position tab, do the following: Select Stop 2 from the list, and then do the following: In the Stop position box, enter 100%. In the Horizontal box, enter 5.2”. Click the button next to Color, and then under Theme Colors click White, Background 1, Darker 35% (fifth row, first option from the left). Select the oval on the top left teardrop shape. Press and hold CTRL and SHIFT (to duplicate and constrain the duplicate shape to a perpendicular axis), and then drag the oval onto the top right teardrop shape to create a second oval. ออกแบบหลักสูตร | เตรียมคนให้ตรงกับงาน |

8 2. ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพ ในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ

9 แผนการจัดทำมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
สถาบันฯ ได้ดำเนินการสนับสนุนการจัดทำมาตรฐานอาชีพในกลุ่มอาชีพที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สำคัญในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในเศรษฐกิจดิจิตอล/เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการพัฒนาของประเทศไทย (Growth and Competitiveness) ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมอนาคต (Future Industries) ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในภาคเกษตรกรรม (Agriculture) ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในภาคบริการ (Services Industries) ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และอื่นๆ (Creative Industries and Others)

10 1. ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในเศรษฐกิจดิจิตอล/เศรษฐกิจสร้างสรรค์
สาขาวิชาชีพ 1. สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิตอลคอนเทนต์ (ปี 57) (ระยะที่ 2 ปี 58) 2. สาขาวิชาชีพธุรกิจการพิมพ์ (ปี 56) (ระยะที่ 2 ปี 58) 3. สาขาวิชาชีพหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ (ปี 57) 4. สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ (ปี 58)

11 2.ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการพัฒนาของประเทศไทย (Growth and Competitiveness) สาขาวิชาชีพ 1. เศรษฐกิจความเข้มแข็งและความมั่นคงด้านพลังงาน 1.1 สาขาวิชาชีพปิโตรเลียมและปิโตรเคมี (ปี 56 ระยะที่ 2 ปี 59 ) 1.2 สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน (ปี 59) 1.3 สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดการพื้นที่สีเขียว 1.4 สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดการสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย (ปี 58) 1.5 สาขาวิชาชีพธุรกิจสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง สาขาวิชาชีพ 2. เศรษฐกิจการผลิตในภาคอุตสาหกรรม 2.1 สาขาวิชาชีพผลิตแม่พิมพ์ (ปี 56 ระยะที 2 ปี 58) 2.2 สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา (ปี 57 ระยะที่ 2 ปี 59) 2.3 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมพลาสติก (ปี 58) 2.4 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2.5 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมผลิตเหล็กและเหล็กกล้า 2.6 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกส์ (ปี 58) 2.7 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมสิ่งทอ 2.8 สาขาวิชาชีพผลิตเฟอร์นิเจอร์เหล็ก ไม้ หนัง

12 2.ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการพัฒนาของประเทศไทย (Growth and Competitiveness) (ต่อ) สาขาวิชาชีพ 3. เศรษฐกิจการส่งเสริมและบริการในภาคการผลิต 3.1 สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์ (ปี 57 และ ระยะที่ 2 ปี 58) 3.2 สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ (ปี 56 และระยะที่ 2 58) 3.3 สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์ (ปี 57) 3.4 สาขาวิชาชีพบริหารงานบุคคล (ปี 57) 3.5 สาขาวิชาชีพธุรกิจทดสอบและตรวจสอบ(ทดสอบโดยไม่ทำลาย) (ปี 58) 3.6 สาขาวิชาชีพช่างซ่อมบำรุงเครื่องพิมพ์ 3.7 สาขาวิชาชีพผู้ฝึกในสถานประกอบการ 3.8 สาขาวิชาชีพผู้ปฏิบัติการด้านบัญชี (ปี 58) 3.9 สาขาวิชาชีพช่างซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาชีพ 4. เศรษฐกิจอุตสาหกรรมก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ 4.1 สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้าง (ปี 58 ระยะที่ 2 ปี 59) 4.2 สาขาวิชาชีพบริหารทรัพย์สิน (ปี 57 ระยะที่ 2 ปี 59) 4.3 สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (ปี 57) 4.4 สาขาวิชาชีพนักประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 4.5 สาขาวิชาชีพผังเมือง (ปี 58) 4.6 สาขาวิชาชีพผู้ควบคุมงานก่อสร้าง (ปี 58) 4.7 สาขาวิชาชีพการบริหารโครงการก่อสร้าง (ปี 59)

13 3.ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมอนาคต (Future Industries)
สาขาวิชาชีพ สาขาวิชาชีพธุรกิจการบิน (ปี 56) 2. สาขาวิชาชีพช่างซ่อมบำรุงเครื่องบิน (ปี 59) 3. สาขาวิชาชีพรถไฟความเร็วสูงและระบบราง (ปี 59) 4. สาขาวิชาชีพการเดินเรือ (ปี 59) 5. สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีชีวการแพทย์ (ปี 58) 6. สาขาวิชาชีพการออกแบบแฟชั่น (ปี 57) 7. สาขาวิชาชีพช่างเทคโนโลยีระบบเสียง (ปี 58) 8. สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดประชุมและนิทรรศการ (ปี 59)

14 4.ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในภาคเกษตรกรรม (Agriculture)
สาขาวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ปี 57) 2. สาขาวิชาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ (ปี 57) 3. สาขาวิชาชีพแปรรูปนม (ปี 57) 4. สาขาวิชาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ปี 59) 5. สาขาวิชาชีพแปรรูปผักและผลไม้ (ปี 59) 6. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมอาหาร นักวิทยาศาสตร์อาหารด้านความปลอดภัย (ปี 57) 7. สาขาวิชาชีพธุรกิจสัตว์ปีกเพื่อการบริโภค 8. สาขาวิชาชีพการผลิตสุกร

15 5.ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในภาคบริการ (Services Industries)
สาขาวิชาชีพ 1. สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยวและการโรงแรม (ปี 57) 2. สาขาวิชาชีพผู้ดูแลผู้สูงอายุ (ปี 57) 3. สาขาวิชาชีพผู้ดูแลเด็ก (ปี 57) 4. สาขาวิชาชีพสปาและความงาม (ปี 56) 5. สาขาวิชาชีพช่างทำผม (ปี 56) 6. สาขาวิชาชีพมัคคุเทศก์ (ปี 56) 7. สาขาวิชาชีพธุรกิจภาพถ่าย (ปี 56) 8. สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการดูแลสัตว์เลี้ยง

16 6.ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth)
สาขาวิชาชีพ 1. สาขาวิชาชีพขับขี่รถยนต์โดยสารประเภทไม่ประจำทาง (ปี 56) 2. สาขาวิชาชีพขับขี่รถยนต์โดยสารสาธารณะ (แท็กซี่) (ปี 56) 3. สาขาวิชาชีพธุรกิจรักษาความปลอดภัย (ปี 58) 4. สาขาวิชาชีพแม่บ้าน (ปี 57) 5. สาขาวิชาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า (ปี 56)

17 7. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
สาขาวิชาชีพ 1. สาขาวิชาชีพผู้ประกอบอาหารไทย (ปี 56) 2. สาขาวิชาชีพผู้ประกอบการร้านอาหารในร้านอาหารทั่วไป(พ่อครัวแม่ครัว) (ปี 57) 3. สาขาวิชาชีพธุรกิจกีฬาอาชีพ (ปี 57) 4. สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดดอกไม้ (ปี 56) 5. สาขาวิชาชีพผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ปี 57) 6. สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (ปี 57) 7. สาขาวิชาชีพผู้ฝึกกีฬาและผู้ตัดสินกีฬา (ปี 58) 8. สาขาวิชาชีพการบริหารสนามกอล์ฟ 9. สาขาวิชาชีพล่ามแปลภาษา

18 8. ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และอื่นๆ (Creative Industries and Others) สาขาวิชาชีพ 1. สาขาวิชาชีพสื่อสารมวลชน 2. สาขาวิชาชีพการละคร 3. สาขาวิชาชีพธุรกิจดนตรี 4. สาขาวิชาชีพงานโทรทัศน์ 5. สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการดูแลสัตว์เลี้ยง 6. สาขาวิชาชีพบริการวิจัยและสำรวจความคิดเห็น 7. สาขาวิชาชีพนายหน้าประกัน 8. สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดการฌาปนกิจ

19 ตัวอย่างมาตรฐานอาชีพ (บริหารงานบุคคล)
1) นักบริหารงานบุคคล สาขา สรรหาและคัดเลือกบุคลากร (Recruitment & Selection) ชั้น 3 2) นักบริหารงานบุคคล สาขา บริหารค่าตอบแทน (Remuneration Management) ชั้น 3 3) นักบริหารงานบุคคล สาขา พนักงานสัมพันธ์ (Employee Relations) ชั้น 3 4) นักบริหารงานบุคคล สาขา เรียนรู้และพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Learning & Development) ชั้น 3 5) นักบริหารงานบุคคล สาขา สรรหาและคัดเลือกบุคลากร (Recruitment & Selection) ชั้น 4 6) นักบริหารงานบุคคล สาขา บริหารค่าตอบแทน (Remuneration Management) ชั้น 4 7) นักบริหารงานบุคคล สาขา พนักงานสัมพันธ์ (Employee Relations) ชั้น 4 8) นักบริหารงานบุคคล สาขา เรียนรู้และพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Learning & Development) ชั้น 4 9) นักบริหารงานบุคคล สาขา วางแผนอัตรากาลัง (Workforce Planning) ชั้น 4 10) นักบริหารงานบุคคล สาขา บริหารผลงาน (Performance Management) ชั้น 4 11) นักบริหารงานบุคคล สาขา บริหารความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Management) ชั้น 4 12) นักบริหารงานบุคคล สาขา พัฒนาองค์การ (Organization Development) ชั้น 4 13) นักบริหารงานบุคคล ชั้น 5 14) นักบริหารงานบุคคล ชั้น 6 องค์กรรับรอง: PMAT, ปัญญาภิวัฒน์

20 3. ให้การรับรององค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคล
ตามมาตรฐานอาชีพ

21 องค์กรรับรองสมรรถนะฯ 70 แห่ง
ภาคกลาง ภาคตะวันออก กรุงเทพ และปริมณฑลฯ องค์กรรับรองสมรรถนะฯ 70 แห่ง วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี (จัดดอกไม้, บริการยานยนต์) มจพ. พระนครเหนือ (ICT, แมคคาทรอนิกส์) สมาคมอุตสาหกรรมซอฟแวร์ไทย (ICT) มจธ. ธนบุรี ((ICT, การพิมพ์) สมาคมขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ไทย (โลจิสติกส์) สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย (โลจิสติกส์) สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (โลจิสติกส์) สมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย (โลจิสติกส์) วิทยาลัยดุสิตธานี (กรุงเทพ พัทยา)(ผู้ประกอบอาหาร, สปา) ม.ราชภัฏสวนดุสิต (แท็กซี่) ม.เกษตรศาสตร์ (แมคคาทรอนิกส์) ร.ร.เสริมสวยชลาชล (ช่างทำผม) ร.ร.เสริมสวยและออกแบบทรงผมฯ ณรงค์ (ช่างทำผม) สมาคมธุรกิจถ่ายภาพ (ธุรกิจถ่ายภาพ) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช (อุตสาหกรรมการพิมพ์) มทร.ธัญบุรี (แมคคาทรอนิกส์, การพิมพ์, สปา, มัคคุเทศก์) บ. ทีโอ จำกัด (บริการยานยนต์) บ. การบินไทย จำกัด (ผู้ประกอบอาหาร, งานโรงแรม) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (บริการยานยนต์) สมาคมผู้ประกอบการรถขนส่งทั่วประเทศ (รถทัวร์) เทคนิคสมุทรปราการ (บริการยานยนต์) วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ (ช่างทำผม) สถาบันไทย-เยอรมัน (แมคคาทรอนิกส์) เทคนิคสัตหีบ (บริการยานยนต์, ผลิตแม่พิมพ์) สมาคมผู้ประกอบการขนส่งแหลมฉบัง (โลจิสติกส์) เทคนิคมาบตาพุด (ปิโตรเลียม) เทคนิคสมุทรสงคราม (ผลิตแม่พิมพ์) ศรีวิชัยอาชีวศึกษา (ดูแลผู้สูงอายุ) ม.มหิดล (ICT) ชีวาศรม (สปา) เทคนิคจันทบุรี (บริการยานยนต์)

22 องค์กรรับรองสมรรถนะฯ
อาชีวศึกษาเชียงราย (ผู้ประกอบอาหาร, จัดดอกไม้, ตัดเย็บเสื้อผ้า) ม.ราชภัฎเชียงราย (โลจิสติกส์) ม.ราชภัฎลำปาง (อนุรักษ์งานพื้นบ้านฯ) ม.เชียงใหม่ (ICT) เฮลท์ ล้านนาสปา (สปา) มทร.ล้านนา (แมคคาทรอนิกส์) อาชีวศึกษาเชียงใหม่ (ผู้ประกอบอาหาร) ม.นอร์ทเชียงใหม่ (โลจิสติกส์) อาชีวศึกษาแพร่ (จัดดอกไม้, ตัดเย็บเสื้อผ้า, ผู้ประกอบอาหาร) ม.พะเยา (ICT) อาชีวศึกษาอุดรธานี (ผู้ประกอบอาหาร) สถาบันผ้าทอมือ หริภุญชัย (อนุรักษ์ งานพื้นบ้านฯ) เทคนิคอุบลราชธานี (บริการยานยนต์, ICT) ม.มหาสารคาม (ผู้ประกอบอาหาร) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (โลจิสติกส์) สุโข สปา (สปา) อาชีวศึกษาภูเก็ต (ผู้ประกอบอาหาร) มทร. อีสาน (แมคคาทรอนิกส์) สมาคมขนส่งสินค้าภาคอีสาน (โลจิสติกส์) ส่วนภูมิภาค อาชีวศึกษาสงขลา (ผู้ประกอบอาหารไทย) ม.สงขลานครินทร์ (โลจิสติกส์ ICT)

23 4. ติดตามและประเมินผลองค์กร
ที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ

24 ติดตามและประเมินผลองค์กรรับรองสมรรถนะ
ร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาอาชีพตรวจประเมินหน่วยงานที่มีความพร้อมในด้านสถานที่ เครื่องมือ บุคลากร เพื่อเป็นองค์กรรับรองสมรรถนะ ร่วมมือกับ MASCI ในการอบรมบุคลากรขององค์กรรับรองตามแนวทาง ISO เพื่อความน่าเชื่อถือ รวมทั้งอบรมผู้ประเมินองค์กรสำหรับติดตามและประเมินผลองค์กรรับรอง ให้การอบรมเจ้าหน้าที่สอบเกี่ยวกับความเข้าใจในมาตรฐานอาชีพและเครื่องมือประเมินสมรรถนะ เพื่อให้กระบวนการประเมินมีคุณภาพ น่าเชื่อถือ รวมทั้งร่วมมือกับ Service IQ จากนิวซีแลนด์ อบรมเจ้าหน้าที่สอบตามแนวทางปฏิบัติสากล ร่วมมือกับ สมอ. ในการติดตามและประเมินผลองค์กรรับรองสมรรถนะ สคช. จึงได้ลงนามความร่วมมือกับองค์กรและหน่วยงานภายในประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพร่วมกัน ร่วมเป็นองค์กรรับรองสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ดังนี้

25 5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ
และมาตรฐานอาชีพ

26 2558 TPQI-NET.TPQI.GO.TH ISO 27002 9001 REDUNDANT SYSTEM
Paperless System White Hat Check TPQI-NET.TPQI.GO.TH

27 6. ส่งเสริม สนับสนุนและประสานความร่วมมือ
กับองค์กรต่างๆ ในการเผยแพร่ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ

28 ส่งเสริม สนับสนุนและประสานความร่วมมือใน การเผยแพร่ระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ
ส่งต่อมาตรฐานอาชีพสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทำงานกับ สอศ. กรอ.อศ. คณะกรรมการสานพลังประชารัฐด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในการปรับหลักสูตรให้เป็นฐานสมรรถนะ ร่วมมือระหว่าง สคช. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และกระทรวงการท่องเที่ยว เพื่ออบรมและประเมินผู้ประกอบอาชีพการท่องเที่ยวและการโรงแรม ตาม MRA จากยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพให้สอดคล้องกับทิศทางความต้องการทางเศรษฐกิจทั้งในและต่างประเทศนั้น สคช.ได้ดำเนินงานจัดทำ มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพเพิ่มอีก 23 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 สาขาอาชีพที่เป็นกลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรม จำนวน 9 สาขา ได้แก่ สื่อสารมวลชน อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ธุรกิจจัดประชุมและนิทรรศการ ธุรกิจดนตรี ธุรกิจกีฬา อาชีพ อุตสาหกรรมเครื่องเย็น อุตสาหกรรมลิฟท์และบันไดเลื่อน อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ธุรกิจรักษาความปลอดภัย กลุ่มที่ 2 สาขาอาชีพที่เป็นอาชีพเฉพาะ จำนวน 11 สาขา ได้แก่ นักประเมินมูลค่าทรัพย์สิน นักอัญมณีศาสตร์ ช่างระบบปรับอากาศ นักผังเมือง ช่างซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ช่างเทคโนโลยีระบบเสียง นักทดสอบโดยไม่ทำลาย นักบริหารโครงการ ผู้ให้บริการนวดผ่อนคลาย นักออกแบบผลิตภัณฑ์ ผู้สอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มที่ 3 สาขาอาชีพที่ได้มีการดำเนินการจัดทำมาตรฐานอาชีพในปี แต่ยังไม่แล้วเสร็จในทุกอาชีพเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ สคช. จึงมีเป้าหมายในการดำเนินการในระยะที่ 2 จำนวน 3 สาขา ได้แก่ โลจิสติกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และธุรกิจสิ่งพิมพ์

29 ความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศ
เป้าหมายความร่วมมือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ร่วมมือจัดทำมาตรฐานอาชีพในสาขาวิชาชีพต่างๆ และส่งเสริมการพัฒนาองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะฯ รวมทั้งร่วมเทียบเคียงมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติกับมาตรฐานอาชีพเพื่อเชื่อมโยงไปสู่คุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งประเทศไทย เทียบเคียงกรอบคุณวุฒิวิชาชีพกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิทางการศึกษา เพื่อเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิอาเซียน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พัฒนาการประเมินสมรรถนะในอุตสาหกรรม ICT ร่วมกับ IPA (ญี่ปุ่น) สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นำมาตรฐานอาชีพไปพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เช่น ความร่วมมือระหว่าง สคช. กับ สอศ. และ BIBB ในสาขาวิชาชีพ แมคคาทรอนิกส์

30 ความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศ (ต่อ)
เป้าหมายความร่วมมือ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร่วมจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพในสาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสนับสนุนให้มีการนำไปใช้ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ร่วมจัดทำร่างหลักเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ และพัฒนาองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะให้เข้าสู่ ISO 17024 สถาบันการศึกษา และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ร่วมมือพัฒนาให้เป็นองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะ พัฒนามาตรฐานอาชีพ และส่งเสริมการนำมาตรฐานฯไปพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

31 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ
เป้าหมายความร่วมมือ TLISC ออสเตรเลีย พัฒนาและเทียบเคียงมาตรฐานอาชีพโลจิสติกส์ การบิน ระบบราง Kangan Institute ออสเตรเลีย พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เช่น บริการยานยนต์ Victoria Universit ออสเตรเลีย พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ และระบบคุณวุฒิวิชาชีพ AUT นิวซีแลนด์ จัดทำมาตรฐานอาชีพสาขาผู้สอนภาษาอังกฤษ Service IQ นิวซีแลนด์ พัฒนามาตรฐานฯ การบิน และการประเมินสมรรถนะ NZQA นิวซีแลนด์ พัฒนาระบบประเมินสมรรถนะ และพัฒนาบุคลากร สคช. WelTec นิวซีแลนด์ พัฒนามาตรฐานอาชีพสปาและผู้ประกอบอาหาร VUW นิวซีแลนด์ พัฒนามาตรฐานอาชีพภาพยนตร์ และ ICT (วีดีโอเกม) BIBB (เยอรมนี) พัฒนามาตรฐานฯและหลักสูตรฐานสมรรถนะ สาขาแมคคาทรอนิคส์ HRD Korea (เกาหลี) พัฒนาระบบการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ

32 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ (ต่อ)
Information-technology Promotion Agency (IPA) ประเทศญี่ปุ่น พัฒนามาตรฐานฯและเครื่องมือประเมิน(ข้อสอบ) สาขา ICT Human Resources Development Service of Korea ประเทศเกาหลี ร่วมพัฒนากระบวนการประเมินสมรรถนะและฐานข้อมูล Institute for Information and communications Technology Promotion ประเทศเกาหลี พัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะ ICT สาขา Software Development Hongkong Qualifications Framework ฮ่องกง ร่วมพัฒนามาตรฐานอาชีพและระบบการประเมินสมรรถนะ RMIT University ประเทศออสเตรเลีย ร่วมส่งเสริมการเผยแพร่และการนำมาตรฐานอาชีพไปใช้พัฒนาสมรรถนะ

33 ความร่วมมือใน AEC เปรียบเทียบมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพระหว่างไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนี้ หน่วยงาน ความร่วมมือ Indonesian Professional Certification Authority (BNSP) ประเทศอินโดนีเซีย เปรียบเทียบมาตรฐานอาชีพสปา Professional Regulation Commission (PRC) ประเทศฟิลิปปินส์ เปรียบเทียบมาตรฐานอาชีพโลจิสติกส์ Pakpasak Technical College ประเทศลาว เปรียบเทียบมาตรฐานอาชีพผู้ประกอบอาหารไทย National Institute for Vocational Training (NIVT) ประเทศเวียดนาม เปรียบเทียบมาตรฐานอาชีพแมคคาทรอนิกส์ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

34 THAILAND PROFESSIONAL QUALIFICATION INSTITUTE
THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google