งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ : การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน

2 หัวข้อการบรรยาย 1. ที่มาและผลที่คาดว่าจะได้รับ
2. ภาพรวมพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. 2558 3. การดำเนินการตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกฯ 4. แนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน

3 ที่มาและผลที่คาดว่าจะได้รับ
จากปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดความยุ่งยากต่างๆ ในการขออนุญาต ทำให้ประชาชนไม่สะดวกในการขออนุญาตจากทางราชการ และยังเป็นอุปสรรคสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการป้องกันการทุจริต ทำให้ต้องมีการออกกฎหมาย ขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือ เพื่อขจัดอุปสรรค ทำให้ได้ผลผลิต 4 ประการที่สำคัญ คือ คู่มือประชาชน ศูนย์บริการร่วม ศูนย์รับคำขออนุญาต และการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในการรับคำขอ กฎหมายกลางเพื่อกำหนดมาตรฐานและครอบคลุมทุกงานบริการ พ.ร.บ.การอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ประโยชน์ที่ได้รับ ปัญหา และสถานการณ์ปัจจุบัน ประชาชนเข้าถึง ข้อมูลการให้บริการ ภาครัฐได้ง่ายขึ้น มีกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตเป็นจำนวนมาก ประชาชนต้องติดต่อส่วนราชการหลายแห่งเพื่อดำเนินการ ขออนุญาต กฎหมายว่าด้วยการอนุญาตไม่กำหนดความชัดเจน ทั้งระยะเวลา เอกสารที่ต้องใช้ ขั้นตอน เงื่อนไขและหลักเกณฑ์การพิจารณา ประชาชนขาดข้อมูลทำให้เกิดช่องทางการทุจริต ผลผลิตหลัก: 1. คู่มือสำหรับประชาชน การให้บริการภาครัฐ มีมาตรฐานแน่นอน ชัดเจน และรวดเร็ว 2. ศูนย์บริการร่วม 3. ศูนย์รับคำขออนุญาต ลดความเสี่ยงของ การทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ในการรับคำขอ

4 เรื่องแล้วเสร็จตามคำขอ คำขอ/เอกสารไม่ถูกต้อง
ภาพรวมพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 เรื่องแล้วเสร็จตามคำขอ ถูกต้อง ครบถ้วน คู่มือสำหรับประชาชน ตรวจสอบคำขอ ยื่นคำขอรับบริการ ประกาศ ณ จุดบริการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7) เรื่องไม่แล้วเสร็จ ยื่น ณ จุดให้บริการแต่ละหน่วยงาน ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์บริการร่วมกระทรวง/จังหวัด ศูนย์รับคำขออนุญาต คำขอ/เอกสารไม่ถูกต้อง หากครบกำหนดแล้วยังพิจารณา ไม่แล้วเสร็จ ให้ให้แจ้งผู้ยื่นคำขอทราบทุก 7 วัน จนกว่าจะพิจารณาเสร็จ พร้อมส่งสำเนาให้ ก.พ.ร. (มาตรา 10) หากไม่ถูกหรือไม่ครบให้แจ้งทันที หรือบันทึกความบกพร่องนั้นไว้มอบแก่ผู้ยื่นคำขอไว้เป็นหลักฐาน สามารถขอเอกสารเพิ่มได้เพียงครั้งเดียว (มาตรา 8) เจ้าหน้าที่ผู้รับคำขอปฏิบัติตามที่ พ.ร.บ.ฯ กำหนด ผู้อนุญาตพิจารณาปรับปรุงกฎหมายทุก 5 ปี (มาตรา 6) กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจสอบการประกอบกิจการของผู้ได้รับอนุญาต (มาตรา 13) ตราพระราชกฤษฎีกาการชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาตแทนการยื่นคำขอ (มาตรา 12) จัดทำคู่มือสำหรับประชาชน และเผยแพร่ (มาตรา 7) จัดทำแนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน (มาตรา 7) ตรวจสอบคู่มือสำหรับประชาชน (มาตรา 7 วรรคสาม) ตรวจสอบกรณีล่าช้า (มาตรา 10 วรรคสอง) หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการออกใบอนุญาต เสนอต่อคณะรัฐมนตรี (มาตรา 12 วรรคสี่) ให้มีศูนย์บริการร่วมเพื่อรับคำขอและชี้แจง (มาตรา 7 วรรคสี่) กำหนดแนวทางศูนย์บริการร่วม (มาตรา 7 วรรคสี่) กำหนดให้ยื่นคำขอผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7 วรรคหนึ่ง) กรณีจำเป็นและสมควร เสนอ ครม. จัดตั้งศูนย์รับคำขออนุญาต (มาตรา 14) ศูนย์รับคำขออนุญาต จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รองรับการรายงานคู่มือสำหรับประชาชน และรายงานกรณีล่าช้า ส่งเสริมความรู้และสื่อสารสร้างความเข้าใจ

5 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติฯ
คู่มือสำหรับประชาชน (ม.7,17) ศูนย์บริการร่วม (ม.7) ศูนย์รับคำขออนุญาต (ม.14-16) “การบูรณาการงานบริการระหว่างหน่วยงาน” หน่วยงานภาครัฐจัดทำคู่มือภายใน 180 วันนับจากประกาศใช้ คู่มือสำหรับประชาชนต้องมี หลักเกณฑ์+วิธีการ+เงื่อนไข+ขั้นตอน+ระยะเวลาที่ใช้+รายการเอกสาร/ หลักฐานที่ต้องใช้ ตามที่ ก.พ.ร. กำหนด ต้องปิดประกาศ /เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ก.พ.ร.ต้องรวบรวม ตรวจสอบการบริการตามหลัก GG และให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาการบริการแก่ ครม. “การบูรณาการงานบริการภายในกระทรวง/จังหวัด” ในกรณีจำเป็นและสมควร เสนอ ครม.จัดตั้งศูนย์ฯ สามารถจัดตั้งได้โดย พ.ร.ฎ.ตามความจำเป็น ฐานะเป็นส่วนราชการของ นร. ก.พ.ร. ศึกษาเพื่อเตรียมการจัดตั้งศูนย์รับคำขอฯ รับคำขอฯ ตรวจเอกสาร / คำขอ ให้ข้อมูล และส่งต่อคำขอไปยังหน่วยงานอนุญาต และติดตามสถานะคำขอ ให้ส่วนราชการจัดให้มีศูนย์บริการร่วม เพื่อรับคำขอและให้ข้อมูลการอนุญาต ณ ที่เดียว ตามแนวทางที่ ก.พ.ร. กำหนด ก.พ.ร. กำหนดแนวทางการพัฒนาศูนย์บริการร่วมภายใน180 วันจากวันที่ประกาศใช้ พ.ร.บ.ฯ ผู้อนุญาต (ม.8,9,10,11,12,13) ตรวจสอบความถูกต้องของคำขอและเอกสาร หากไม่ครบ/ไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไขทันทีหรือลงนามในบันทึกให้รับรู้ทั้ง 2 ฝ่าย และขอเพิ่มได้เพียงครั้งเดียว กรณีที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือฯแล้ว จะเรียกเอกสารเพิ่มอีกไม่ได้ หากปฏิเสธคำขอโดยอ้างว่าเอกสารไม่ครบ/คำขอไม่สมบูรณ์ไม่ได้ ยกเว้นความประมาท/ทุจริตของเจ้าหน้าที่ ซึ่งต้องรับโทษทางวินัย/ดำเนินคดี ต้องดำเนินการภายในระยะเวลาตามคู่มือฯ และแจ้งให้ทราบภายใน 7 วันหลังจากแล้วเสร็จ กรณีล่าช้าต้องแจ้งเป็นหนังสือถึงผู้ยื่นฯ ทุก 7 วันจนแล้วเสร็จ และสำเนาถึง ก.พ.ร. ก.พ.ร.พิจารณาว่า การให้บริการขาดประสิทธิภาพ / ล่าช้าเกินเหตุ ต้องรายงานต่อ ค.ร.ม.และเสนอแนะข้อปรับปรุง หากใบอนุญาตมีอายุ อาจกำหนดโดยมติ ครม. ให้ถือว่าการชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุ = การต่อ / การยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาต ต้องพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย ยกเลิกการอนุญาต หรือจัดให้มีมาตรการอื่นแทน เสนอต่อ ครม. ทุก 5 ปี (หรือเร็วกว่านั้นก็ได้) หากไม่แจ้งทั้งกรณีแล้วเสร็จ/ล่าช้า มีโทษเท่ากับกระทำ/ละเว้นกระทำการทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กว่า 40,227 แห่ง สถาบันการศึกษา > 32,000 42 5

6 มติการประชุมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2558 1 รับทราบแนวทางการดำเนินงาน ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เสนอ พ.ร.บ. ประกาศใช้ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ 22 ม.ค. 58 22 มี.ค.58 21 พ.ค.58 21 ก.ค.58 (จำนวนวัน) 60 120 180 จัดทำฐานข้อมูลกฎหมาย จัดทำแบบคู่มือฯ หน่วยงานจัดทำคู่มือฯ Yes ตรวจสอบความถูกต้อง หน่วยงานเผยแพร่คู่มือฯ No หน่วยงานปรับปรุงคู่มือฯ 2 มอบให้สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ฯ เป็นผู้รับผิดชอบหลักสำหรับการพัฒนาระบบ IT สนับสนุนการดำเนินงาน ตาม พ.ร.บ. ฯ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558 มติที่ประชุม 1 เห็นชอบแผนการดำเนินงานตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. เสนอ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ร่วมกับกระทรวง ICT สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมดำเนินการจัดทำระบบ ITเพื่อรองรับการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. ฯ ให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการตราพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกำหนด ให้คัดเลือกหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการอนุมัติ อนุญาต เป็นหน่วยงานที่ประชาชนให้ความสนใจเป็นพิเศษ และมีความพร้อม มาส่งเสริมให้จัดทำคู่มือสำหรับประชาชน จำนวน 20 หน่วยงาน และควรดำเนินการให้เสร็จสิ้นก่อน 180 วัน ประชาสัมพันธ์โดยให้เน้นกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่ม ได้แก่ สื่อมวลชน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนซึ่งเป็นผู้รับบริการ 2 3 4 5

7 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกฯ และมติที่เกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. ประกาศใช้ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ 22 ม.ค. 58 22 มี.ค.58 21 พ.ค.58 21 ก.ค.58 (จำนวนวัน) 60 120 180 1 คู่มือสำหรับประชาชน Yes หน่วยงานเริ่ม เผยแพร่คู่มือฯ จัดทำฐานข้อมูลกฎหมาย จัดทำแบบคู่มือฯ หน่วยงานจัดทำคู่มือฯ ตรวจสอบความถูกต้อง 1.1 การจัดทำคู่มือ No กรณีหน่วยงานตัวอย่าง หน่วยงานปรับปรุงคู่มือฯ ประสานหน่วยงานตัวอย่าง ให้เผยแพร่คู่มือได้ หน่วยงานตัวอย่างเริ่มเผยแพร่คู่มือฯ หน่วยงานแจ้งผู้ยื่นคำขอทุก 7 วัน + สำเนาให้ ส.ก.พ.ร. 1.2 การแจ้งเรื่องล่าช้า ตรวจสอบเหตุแห่งความล่าช้า หากเห็นว่าล่าช้าเกินสมควร ให้เสนอ ค.ร.ม. สั่งการให้แก้ไข พัฒนาการให้บริการ (คู่มือฯ) ตามหลัก GG สำหรับงานบริการที่มีความสำคัญ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบ IT และประชุม Hearingทุก 6 เดือน 1.3 การพัฒนาการให้บริการ ประชุมร่วมภาคเอกชน / ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูล Baseline สำหรับการพิจารณาความเหมาะสมของคู่มือฯ 2 ศูนย์บริการร่วม ส่งเสริมให้กระทรวง/จังหวัด พัฒนาศูนย์บริการร่วมตามแนวทางที่กำหนด ศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาศูนย์บริการร่วมของกระทรวงและจังหวัด 3 ศูนย์รับคำขออนุญาต ศึกษาความเหมาะสม และเสนอจัดตั้งศูนย์รับคำขอฯ (ม.14) (หากเห็นว่าเหมาะสม) เสนอ ครม. เพื่อจัดตั้งศูนย์ฯ และตรา พ.ร.ฎ. เพื่อจัดตั้ง 4 การชำระค่าธรรมเนียม ศึกษาความเหมาะสม และตรา พ.ร.ฎ. เพื่อต่ออายุใบอนุญาตโดยอัติโนมัติเมื่อชำระค่าธรรมเนียม เสนอ ครม. เพื่อตรา พ.ร.ฎ. 5 ดำเนินการอื่นๆ การสื่อสารสร้างความเข้าใจ

8 ระบบ IT เพื่อสนับสนุนการดำเนินการตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกฯ
1. ระบบคู่มือสำหรับประชาชน 2. ระบบหนังสือแจ้งล่าช้า 3. ระบบรับเรื่องร้องเรียน (ประชาชนสามารถร้องเรียนปัญหาการให้บริการ และ สกพร. สามารถใช้ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ) (ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ครบถ้วน ทันสมัย ในจุดเดียว) (ลดภาระหน่วยงานภาครัฐในการจัดส่งหนังสือ เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบกระบวนงานของ สกพร.) ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ รายละเอียดของงานบริการ + การดาวน์โหลดคู่มือฯตามแบบฟอร์ม การสืบค้นคู่มือสำหรับประชาชน และงานบริการ การเชื่อมโยงข้อมูลงานบริการที่มีความต่อเนื่องและเกี่ยวข้องกัน ติดตามสถานะการดำเนินงานของกรณีล่าช้า กรอกข้อมูลและเรื่องร้องเรียนในการให้บริการด้านการอนุญาต การติดตามสถานะการดำเนินการ ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ การนำเข้า / กรอกข้อมูลการดำเนินงานล่าช้ากว่าที่กำหนดในคู่มือสำหรับประชาชน การติดตาม / อัพเดทสถานะของกรณีล่าช้า การสั่งพิมพ์หนังสือล่าช้าเพื่อจัดส่งให้ผู้ขอรับบริการ การส่งสำเนาหนังสือ / ข้อมูลการดำเนินงานล่าช้ามายังสำนักงาน ก.พ.ร. ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ การนำเข้า / กรอกข้อมูลคู่มือสำหรับประชาชน การแสดงสถานะการจัดส่งข้อมูลคู่มือสำหรับประชาชน การอนุมัติการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน รับข้อมูลเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน การติดตาม / อัพเดท สถานะการดำเนินการ การจัดทำรายงานข้อมูลทางสถิติ ส่วนการใช้งานของ สำนักงาน ก.พ.ร. ส่วนการใช้งานของสำนักงาน ก.พ.ร. ส่วนการใช้งานของ สำนักงาน ก.พ.ร. การรับข้อมูลการดำเนินงานล่าช้าจากหน่วยงานภาครัฐ การติดตามกรณีล่าช้าตามเกณฑ์ที่กำหนด การวิเคราะห์และรายงานทางสถิติ การแสดงสถานการณ์จัดส่งข้อมูลคู่มือสำหรับประชาชน ของหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด การอนุมัติการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน การติดตามสถานะการดำเนินการ การจับคู่เรื่องร้องเรียนและหนังสือแจ้งล่าช้า การจัดทำรายงานและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 4. ระบบวิเคราะห์กระบวนงาน (เพิ่มประสิทธิภาพ สกพร. ในการนำข้อมูลไปวิเคราะห์เพื่อเสนอต่อ ครม. ในการพัฒนาการให้บริการ) ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนการใช้งานของสำนักงาน ก.พ.ร. การเปรียบเทียบกระบวนงานชนิดเดียวกันแต่ต่างหน่วยงาน การเปรียบเทียบกระบวนงาน กับมาตรฐานกลาง รายงานและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ สนับสนุนการดำเนินงาน

9 การส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน
ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 1. จัดประชุมชี้แจงในหน่วยงานส่วนกลาง (11 กุมภาพันธ์ 2558) 2. จัดประชุมชี้แจงในหน่วยงานส่วนภูมิภาคและ ท้องถิ่น 4 ภาค (16 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม2558) 3. จัดคลินิกให้คำปรึกษารายกระทรวง 4. หน่วยงานจัดส่งคู่มือสำหรับประชาชนให้ สำนักงาน ก.พ.ร. (ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2558) ภายในวันที่ 21 พฤษภาคม 2558** 5. หน่วยงานปรับปรุงคู่มือให้เหมาะสม และประกาศใช้ภายในวันที่ 21 กรกฎาคม 2558 6. จัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อให้คำปรึกษารายหน่วยงาน (help desk) เพื่อสนับสนุนการดำเนินการ ตามพ.ร.บ. ฯ การจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน และให้ความรู้เกี่ยวกับการบังคับใช้ของ พ.ร.บ.ฯ 7. สื่อสารสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยงาน ประชาชนและหน่วยงานอื่น ๆ **หนังสือสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร. 1200/ว 2 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558

10 แนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน
ที่มา วัตถุประสงค์ของการจัดทำแนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน คำจำกัดความ แนวคิดและหลักการ ความหมายของคู่มือสำหรับประชาชน ขอบเขตการดำเนินการ วัตถุประสงค์ในการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน เป้าหมายของการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ประเภทของกระบวนงานบริการ องค์ประกอบของคู่มือสำหรับประชาชน ขั้นตอนการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ข้อควรพิจารณาในการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ประโยชน์ที่ได้จากการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ภาคผนวก

11 องค์ประกอบคู่มือสำหรับประชาชน
เพื่อให้คู่มือสำหรับประชาชนของทุกหน่วยงานของรัฐ เป็นมาตรฐานเดียวกัน สำนักงาน ก.พ.ร. จึงได้กำหนดองค์ประกอบของคู่มือ ดังนี้ องค์ประกอบของคู่มือฯ ประเภทกระบวนงานบริการ 1) กระบวนงานบริการที่เบ็ดเสร็จในหน่วยงานเดียว 2) กระบวนงานบริการที่เชื่อมโยงหลายหน่วยงาน 3) กระบวนงานบริการ ที่ต่อเนื่องจาก หน่วยงานอื่น 4) กระบวนงานบริการที่ให้บริการในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น 1) ขอบเขตการให้บริการ งานที่ให้บริการ / สถานที่หรือช่องทางการให้บริการ / ระบุ วัน เวลา ที่ให้บริการ 2) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข แสดงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอที่หน่วยงานกำหนดไว้ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน 3) ขั้นตอนและระยะเวลา แสดงขั้นตอนการให้บริการเรียงตามลำดับก่อนหลัง คำอธิบายโดยสังเขป พร้อมทั้งระบุหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ในแต่ละขั้นตอน แสดงระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน และระยะเวลาโดยรวม 4) รายการเอกสาร หลักฐานประกอบ แสดงรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นคำขอรับบริการ พร้อมกับระบุจำนวนของเอกสารหรือหลักฐานให้ชัดเจน 5) ค่าธรรมเนียม ระบุค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่ผู้รับบริการจะต้องชำระ (ถ้ามี) 6) การรับเรื่องร้องเรียน แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับช่องทางและวิธีการแจ้งเรื่องร้องเรียนแก่ผู้ให้บริการ 7) อื่น ๆ ตัวอย่างแบบฟอร์ม : แสดงให้เห็นตัวอย่างแบบฟอร์มคำขอ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างการกรอกข้อมูล หมายเหตุ ในขั้นตอนที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นควรมีการระบุขั้นตอนให้ชัดเจนว่ามีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานใดบ้าง และในการกำหนดระยะเวลาการดำเนินการของขั้นตอนที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นนี้ควรมีการปรึกษาหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อสรุประยะเวลาที่ประกาศ ระบุรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ต้องไปดำเนินการกับหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ให้แล้วเสร็จก่อนที่จะมายื่นคำขอ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับรายชื่อหน่วยงานผู้รับผิดชอบ สถานที่ให้บริการ ช่องทางการติดต่อ เป็นต้น กำหนดขั้นตอน และระยะเวลามาตรฐานโดยหน่วยงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย เพื่อให้การบริการประชาชนมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ ในปฏิบัติให้พิจารณาถึงความมีประสิทธิภาพและประโยชน์ต่อผู้รับบริการเป็นสำคัญ

12 ข้อควรพิจารณาในการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน
หลักแนวคิดที่ควรนำไปใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงการให้บริการ โดยคำนึงถึงประชาชนผู้มารับบริการเป็นศูนย์กลาง (Citizen Centric) และพิจารณาถึงประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการให้บริการและการควบคุม (Control) ที่ดี การยกระดับประสบการณ์การรับบริการของประชาชน 1. ช่องทางบริการสะดวกทันสมัย (Convenient & Modern Channels) 2. ข้อมูลเข้าใจง่ายและสอดคล้องกันทุกช่องทาง 3. ลดการเดินทางมาติดต่อด้วยตนเอง (Zero touch) (Clear & Consistent Information) 4. มีกรอบเวลาและมาตรฐาน ในการให้บริการที่ชัดเจน 5. มีหลักเกณฑ์การพิจารณาที่ชัดเจนและเปิดเผยหลักเกณฑ์ให้ทราบอย่างทั่วถึง (Commitment to Service Delivery) (Clear decision – making criteria) การยกระดับการส่งมอบการบริการของหน่วยงานภาครัฐ 6. ดำเนินการโดยระบบอัติโนมัติ (Automated processing) 7. ลดการใช้เอกสารและไม่ขอข้อมูลที่ภาครัฐมีอยู่แล้ว (Ask for less) 8. ขอเอกสารประกอบเพิ่มเติมได้เพียงครั้งเดียว (One-time data request) 9. ลดความซ้ำซ้อนของการพิจารณาอนุมัติ (Reducing duplication in decision making)

13 ประเภทกระบวนงานบริการ
สามารถดำเนินการได้อย่างเบ็ดเสร็จภายในหน่วยงานเดียว มีขั้นตอนที่จะต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานอื่นในการดำเนินการอนุมัติ อนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ มีการกำหนดให้ประชาชนต้องนำเอกสารหรือหลักฐานที่ออกให้ โดยหน่วยงานอื่นมาเป็นเอกสารหรือหลักฐานประกอบคำขอเพื่อพิจารณา 1.กระบวนงานบริการที่เบ็ดเสร็จใน หน่วยงานเดียว 2. กระบวนงานบริการที่เชื่อมโยงหลายหน่วยงาน 3.กระบวนงานบริการ ที่ต่อเนื่องจาก หน่วยงานอื่น ทำบัตรประจำตัวประชาชน ออกใบอนุญาตขับรถ จดทะเบียนนิติบุคคล จดทะเบียนคนว่างงาน รังวัดที่ดิน ขอแปลงสัญชาติไทย ขอรับเด็กเป็นลูกบุญธรรม ขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว จ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน 4.กระบวนงานบริการที่ให้บริการในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (กฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นผู้อนุญาต)

14 การรังวัดออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย
กระบวนงานเชื่อมโยง หลายหน่วยงาน การรังวัดออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย ตัวอย่าง ยื่นคำขอ/ชี้ระวางแผนที่/ สอบสวน/รับคำขอ/นัดรังวัด /ประมาณการค่าใช้จ่าย ถอนการจ่ายเงิน ค่าใช้จ่าย ในการรังวัด ชำระคำขอ/ วางเงินค่าใช้จ่าย ค้นหาหลักฐานที่ดินและแผนที่ /แจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง ช่างฯ ออกไปทำการรังวัด/ รายงานผลการรังวัด ตรวจสอบความถูกต้อง เสนอ จ.พ.ด. จ.พ.ด. พิจารณาสั่งการ ระยะเวลารอทำการรังวัด 20 วัน 1 วัน 2 วัน 1 วัน 1 วัน จัดทำประกาศแจก โฉนดที่ดินเสนอ จ.พ.ด. ลงนาม ส่งฝ่ายทะเบียน ชำระค่าธรรมเนียม 3 วัน 30 วัน จ.พ.ด. พิจารณา ลงนาม บันทึกข้อมูล เก็บสารบบ แจ้งผู้ขอมารับโฉนด ชำระค่าธรรมเนียม แจกโฉนดให้ผู้ขอ 5 วัน 1 วัน ขั้นตอนที่อาจเกี่ยวข้องกับส่วนราชการอื่นกรณีที่ดินข้างเคียง เช่น กรมอุทยานฯ กรมป่าไม้ กรมทางหลวง กรมชลประทาน เป็นต้น 15 ขั้นตอน 3 จุดบริการ รวมระยะเวลา 64 วันทำการ (ไม่รวมระยะเวลารอคอย)

15 การขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
กระบวนงานที่ต่อเนื่อง จากหน่วยงานอื่น การขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ตัวอย่าง จำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 จำพวกที่ 3 ไม่ต้องขออนุญาต ขออนุญาต (ตาม ม.11) ขออนุญาต (ตาม ม.12) ม. 10 ผู้ประกอบการกิจการโรงงานจำพวกที่ 1 ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวง ฉ. 4 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 กฎกระทรวง ฉ. 5 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 1. ไม่ต้องยื่นขออนุญาต 2. ประกอบกิจการได้ทันที 3. ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดในกฎกระทรวง ได้แก่ การยื่นขออนุญาต 1. คำขอ ร.ง.3 1.1 ยื่นที่กรุงเทพฯ จำนวน 2 ชุด 1.2 ยื่นที่ต่างจังหวัด จำนวน 3 ชุด 2. เอกสารประกอบการพิจารณา 2.1 สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลที่แสดงรายชื่อกรรมการผู้มีอำนาจ 2.2 สำเนาบัตรประจำตัวหรือสำเนาหนังสือเดินทางและสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการผู้ลงนาม 2.3 หนังสือมอบอำนาจ 2.4 แบบแปลนอาคารโรงงาน (วิศวกรลงนามรับรองเอกสาร) 2.5 แบบแปลนแสดงตำแหน่งที่ตั้งเครื่องจักรและรายการเครื่องจักร (วิศวกรลงนามรับรองเอกสาร) 2.6 แบบแปลนระบบควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อม (วิศวกรลงนามรับรองเอกสาร) 2.7 ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร (กรณีที่ยังไม่ได้ก่อสร้างอาคาร) 2.8 หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่หรือที่ดิน (กรณีที่ไม่ได้เป็นเจ้าของสถานที่หรือที่ดิน) 2.9 แผนผังแสดงสิ่งปลูกสร้างภายในบริเวณโรงงาน (วิศวกรลงนามรับรองเอกสาร) 3. สถานที่ตั้งโรงงานจะต้องเป็นไปตามกฎกระทรวง 4. แบบแปลนแสดงขนาดของ BOILER (กรณีที่มี BOILER) การยื่นขออนุญาต คำขอ ร.ง. 1 1.1 ยื่นที่กรุงเทพฯ จำนวน 2 ชุด 1.2 ยื่นที่ต่างจังหวัด จำนวน 3 ชุด 2. สำเนาบัตรประชาชน (กรณีบุคคลธรรมดา) 3. สำเนาทะเบียนบ้าน 4. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 5. แผนผังแสดงสิ่งปลูกสร้างภายในบริเวณโรงงาน และใบอนุญาตก่อสร้าง - สถานที่ตั้งโรงงาน - ลักษณะอาคาร - เครื่องจักร - การควบคุมการปล่อยของเสียหรือมลพิษ สถานที่ยื่นขออนุญาต กรุงเทพฯ → กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต่างจังหวัด → สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

16 ตัวอย่าง กรมประมง 3. 4. 5.


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google