งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
มิติพัฒนาองค์การ 1

2 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA
กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ปี 2558 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA 2 สถานการณ์และความเป็นมา เป้าหมายการพัฒนาองค์การของสำนักงาน ก.พ.ร. เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ 9 Cells กลไกการขับเคลื่อนงานพัฒนาองค์การ ปี 2558 การดำเนินการตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การตามแนวทาง PMQA 2

3 สถานการณ์และความเป็นมาของการพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดเป้าหมายปีละ 2หมวด - ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน การพัฒนา PMQA แต่ละหมวดดำเนินการ ไม่พร้อมกัน ขาดความเชื่อมโยงระหว่างหมวด 2555 - กรมอนามัยผ่านการประเมินPMQAระดับพื้นฐานCertified Fundamental Level 3

4 มีหน่วยงานใช้ PMQA เป็นเครื่องมือ
สำรวจออนไลน์ ความพึงพอใจต่อการพัฒนาองค์กร - การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร - การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ - การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ สำรวจ ออนไลน์ 1 แผนพัฒนาองค์การ สำรวจ ออนไลน์ 2 ขับเคลื่อน PMQAในภาพกรม โดยเจ้าภาพหมวด  ต่างคนต่างทำ บูรณาการน้อย ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน  หน่วยงานไม่เห็นภาพการพัฒนาองค์กร ของตัวเอง (แค่ทำตัวชี้วัด) มีหน่วยงานใช้ PMQA เป็นเครื่องมือ สนับสนุนการทำงาน 4

5 วิเคราะห์สถานการณ์-เสียงสะท้อนจากลูกค้า
วิธีการประเมินผล เกณฑ์การประเมินหน่วยงานซ้ำซ้อน เช่น การส่งทันเวลา ใช้เอกสาร/หลักฐานจำนวนมาก (จำเป็น/ไม่จำเป็น) เป็นภาระงานเอกสาร ผลการประเมิน นำไปใช้ประโยชน์ได้น้อย ผลสำรวจออนไลน์ ไม่สะท้อนภาพการพัฒนาองค์การที่แท้จริง ผู้ปฏิบัติงาน กพร. /เครือข่าย ผู้รับผิดชอบงาน กพร. เปลี่ยนแปลงบ่อย คนทำงาน กพร.เบื่อหน่าย ไม่สนุกกับงาน 5

6 เป้าหมายการพัฒนาองค์การ ของสำนักงาน ก.พ.ร.
คำรับรองของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 6 การพัฒนาสมรรถนะองค์การ รางวัลคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ PMQA รางวัลคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ รายหมวด (หมวด 1 – หมวด 6) 2559 ผ่านการรับรองคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2555 6

7 เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ ปี 2558
สำนักงาน ก.พ.ร. ร่วมกับ NIDA ได้พัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย... ออกแบบกรอบแนวคิดและข้อคำถามในแบบสำรวจการพัฒนาองค์การให้สอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปรับปรุงรูปแบบการประเมินให้มีความง่ายต่อการแสดงความคิดเห็น และการนำผลไปใช้ เปลี่ยนรูปแบบการประเมินผลตัวชี้วัด โดยไม่นำผลการสำรวจมาคิดคะแนนตัวชี้วัด แต่จะประเมินจากการนำผลการสำรวจไปใช้ในการพัฒนาองค์การ เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ 9 Cells

8 แนวคิดการใช้เครื่องมือเพื่อการวินิจฉัยองค์กร
Management Design Goal 3 2 1 การบริหารจัดการ ระดับองค์การ การจัดโครงสร้าง และกระบวนการ ระดับองค์การ การกำหนดเป้าหมาย ระดับองค์การ องค์การ 6 5 4 การบริหารจัดการ ระดับหน่วยงาน การจัดโครงสร้าง และกระบวนการ ระดับหน่วยงาน การกำหนดเป้าหมาย ระดับหน่วยงาน หน่วยงาน 9 8 7 การบริหารจัดการ ระดับบุคคล การจัดโครงสร้าง และกระบวนการ ระดับบุคคล การกำหนดเป้าหมาย ระดับบุคคล ตัวบุคคล

9 การสำรวจออนไลน์ ครั้งที่ 1 ปี 2558
ระยะเวลาตอบแบบสำรวจออนไลน์ ระหว่างวันที่ 1-22 สิงหาคม 2557 กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการสังกัดกรมอนามัย ส่วนกลาง และส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ประเภทตำแหน่ง บริหารและอำนวยการ วิชาการ ทั่วไป จำนวนตัวอย่างขั้นต่ำ 8 317 183 จำนวนทั้งหมด 25 1,517 335

10 ผลการตอบแบบสำรวจการพัฒนาองค์การออนไลน์ ปี 2558
การบริหารจัดการ Management การออกแบบระบบงาน Design การกำหนดเป้าหมาย Goal ระดับองค์การ ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล 5 4 1 เหลือง เหลือง เขียว 9 10 11 12 5 6 7 8 1 2 3 4 เหลือง 7 6 2 เขียว เขียว 21 22 23 24 17 18 19 20 13 14 15 16 เหลือง 9 เขียว 8 3 เหลือง 33 34 35 36 29 30 31 32 25 26 27 28

11 สีเขียว หมายถึงส่วนราชการดำเนินการเรื่องนั้น ได้ดีอยู่แล้ว
สัญลักษณ์ สีเขียว หมายถึงส่วนราชการดำเนินการเรื่องนั้น ได้ดีอยู่แล้ว ควรรักษาการดำเนินการนั้นไว้ สีเหลือง หมายถึงส่วนราชการควรปรับปรุงเรื่องนั้น สีแดง หมายถึงส่วนราชการต้องแก้ไขเรื่องนั้นอย่างเร่งด่วน การแปลผล กรณีส่วนราชการมีเซลที่ต้องแก้ไข (สีแดง) หรือปรับปรุง (สี เหลือง)จะต้องเลือกตามลำดับหมายเลขเซลคือ การกำหนด เป้าหมาย จากนั้นจึงพิจารณา การออกแบบและการ บริหารจัดการในแต่ละระดับควบคู่กันไป คือ และ 8-9  กรมอนามัย ต้องเลือกปรับปรุงเซลที่ 3 การกำหนดเป้าหมาย ระดับบุคคล (Individual Goal) เนื่องจากกรมอนามัยยังไม่มีความ ชัดเจนในการกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าหมาย ระดับหน่วยงาน 11

12 กล่องที่ 3 : การกำหนดเป้าหมายระดับบุคคล
ตัวชี้วัดที่ 6 การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ตัวชี้วัดของกรมอนามัย ปี 2558) กล่องที่ 3 : การกำหนดเป้าหมายระดับบุคคล ข้อแนะนำแนวทางการดำเนินงาน (สำนักงาน ก.พ.ร.) การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องกับเป้าหมายหน่วยงาน กำหนดความชัดเจนในหน้าที่รับผิดชอบของบุคลากร มอบหมายงานที่เหมาะสมกับสมรรถนะผู้ปฏิบัติงาน กำหนดเป้าหมายงานที่ท้าทาย จัดทำข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร มีรายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินที่วัดได้อย่างเป็นรูปธรรม 12

13 กลไกการขับเคลื่อนงานพัฒนาองค์การ ปี 2558
เจ้าภาพหมวด 1-6 ดำเนินการ เพื่อบรรลุ เป้าหมายตามเกณฑ์ PMQA 2558 ทุกหน่วยงานใช้ PMQA เป็นเครื่องมือสนับสนุนการ ดำเนินงาน เพื่อบรรลุ เป้าหมายตามภารกิจของ หน่วยงาน บทบาท บทบาท 1. ทบทวนผลการดำเนินงาน เทียบกับเกณฑ์ 2. ทำแผนพัฒนาองค์การ และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3. ขับเคลื่อนการดำเนินงานภาพรวมของกรม 4. จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 1. ประเมินตนเอง 2. ดำเนินการตัวชี้วัดที่ 5 ระดับหน่วยงาน เกณฑ์ 6 หมวด 24 ข้อ (ข้อ 2.3 จะนำมาตอบผลสำรวจ ออนไลน์ : การกำหนดเป้าหมาย ระดับบุคคล) 13

14 การดำเนินการตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การตามแนวทาง PMQA
ใช้คู่มือการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 14

15 ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ
ตามแนวทาง PMQA เกณฑ์การให้คะแนน 200 คะแนน หมวดที่ 1 การนำองค์การ 35 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 35 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 35 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 35 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล 30 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ 30 ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 24 ข้อ หลักฐานอ้างอิงขั้นต่ำ 14 รายการ 15

16 คำอธิบาย เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดนี้ กำหนดขึ้นเพื่อประเมินสถานภาพหน่วยงาน ในการพัฒนาองค์การตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐในเบื้องต้น ซึ่งคัดเลือกเฉพาะประเด็นสำคัญในแต่ละหมวดมาประเมินกระบวนการดำเนินงาน และผลผลิตที่เกิดขึ้น คำนิยาม ผู้รับบริการ : บุคคลที่มารับบริการจากหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : บุคคล/หน่วยงานที่รับบริการจากผู้รับบริการขององค์กร และผู้ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการให้บริการของหน่วยงาน มาตรฐานการให้บริการ : แผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการ ที่ผู้ให้บริการ ประกาศ/เผยแพร่ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบแนวทางการปฏิบัติในการมารับบริการ บริการที่จะได้รับ และระยะเวลาแล้วเสร็จ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) : คู่มือการปฏิบัติงานของบุคลากร ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ การประเมินผล พิจารณาจากการดำเนินงานตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

17 ประเด็นการประเมินผล คะแนน
หมวดที่ 1 การนำองค์การ 35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.1 ผู้บริหารของหน่วยงานมีการกำหนดทิศทาง นโยบาย เป้าหมายการดำเนินงาน และถ่ายทอด สื่อสารให้บุคลากรรับรู้และนำไปปฏิบัติ 15 1.2 ผู้บริหารมีการมอบอำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ 10 1.3 ผู้บริหาร มีบทบาทในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 17

18 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 2.1 มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในภายนอกที่สำคัญ 5 2.2 มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน 2.3 มีการจัดทำข้อตกลงในการถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคลอย่างเป็นระบบ (Flow Chart) 10 2.4 มีการสื่อสารและทำความเข้าใจ เรื่องการนำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ 2.5 มีการติดตาม การรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนฯ และสรุปบทเรียนของการดำเนินงานระดับหน่วยงาน/ระดับบุคคล หลักฐาน : แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ ส่งรอบ 6 เดือน หลักฐาน : แผนภาพแสดงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ส่งรอบ 6 เดือน 18

19 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 3.1 มีการวิเคราะห์กลุ่ม C/SH สินค้าและบริการ ความคาดหวังความต้องการของ C/SH 15 ผลการวิเคราะห์ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ 6 เดือน 3.2 มีการกำหนดมาตรฐานการให้บริการ ซึ่งมีระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการ 5 มาตรฐานการให้บริการ 3.3 มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรม (ตามแบบฟอร์ม) 3.4 มีการดำเนินงานโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนงานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน 3.5 มีการวัดความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของ C/SH รายงานสรุปความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ 19

20 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 4.1 มีฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงานที่ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย 10 รายการฐานข้อมูลหรือระบุ URL เว็บไซต์ 4.2 มีระบบเทคโนโลยี ที่ C/SH สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและรับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกกลุ่ม 5 4.3 มีระบบติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4.4 มีการจัดการความรู้ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน C/SH และมีการนำความรู้ไปใช้การพัฒนางาน รายงานสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการจัดความรู้ภายในหน่วยงาน (ตามแบบฟอร์ม) 20

21 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล
30 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้/ทักษะ และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์ของหน่วยงาน 15 รายงานผลการพัฒนาความรู้/ทักษะ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ เดือน 5.2 มีกิจกรรมส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร (ตามแบบฟอร์ม) 21

22 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ
30 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 6.1 มีการกำหนดกระบวนการทีสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน ตามภารกิจของหน่วยงาน 5 หลักฐานการกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 6.2 มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 10 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) 6.3 มีการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานในข้อ 6.1 ไปใช้ในการดำเนินงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกระบวนการสนับสนุนตามภารกิจของหน่วยงาน หลักฐานแสดงการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปใช้ในการดำเนินงาน 6.4 มีแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน ต่าง ๆที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดกระบวนการ 22

23 Q&A 23


ดาวน์โหลด ppt ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google