งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สพ.ญ.วิรงรอง หุ่นสุวรรณ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สพ.ญ.วิรงรอง หุ่นสุวรรณ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคาดหวังต่อความพร้อมห้องปฏิบัติการวินิจฉัยโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนตามแนวทาง IHR : กรมปศุสัตว์
สพ.ญ.วิรงรอง หุ่นสุวรรณ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์

2 IHR กรมปศุสัตว์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กองสารวัตรและกักกัน
ด้านพัฒนาระบบเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรค สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ ด้านพัฒนาระบบและสมรรถนะห้องปฏิบัติการ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ ด้านการพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ กองสารวัตรและกักกัน ประสานงานด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ ด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน

3 IHR ด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
องค์ประกอบ : ความสามารถในการตรวจจับและตอบสนองต่อเหตุการณ์โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนในประเทศหรือนานาชาติให้ความสนใจ ดัชนีชี้วัด : กลไกการตรวจจับและตอบสนองต่อเหตุการณ์ โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนมีการสร้างขึ้นและปฏิบัติได้

4 IHR กับความสำคัญของห้องปฏิบัติการในการเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การเฝ้าระวังโรคในสัตว์และคนทั้งทางอาการและทางห้องปฏิบัติการ การจัดลำดับความสำคัญ โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน การเก็บข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นระบบและทันเวลา ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทำทำเนียบผู้เชี่ยวชาญโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนที่สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ และupdate

5 Priority Diseases Zoonoses Non-zoonoses Exotic Diseases
Avian Influenza, Brucellosis, Tuberculosis, Anthrax, Rabies, Melioidosis Newcastle Disease, Foot and Mouth Disease, Hemorrhagic Septicemia, Black Leg, Paratuberculosis, Caprine Atritis and Encephalomyelitis, Swine Fever, PRRS, Procine Epidemic Diarrhea BSE, Rinderpest, PPR, Nipah, West Nile Encephalitis Source: นสพ.การุณ ชนะชัย

6 รู้โรคเร็ว ควบคุมโรคเร็ว
รู้โรคเร็ว ควบคุมโรคเร็ว

7 การเฝ้าระวังโรคสัตว์
แบ่งตามวิธีการ การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance) การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) แบ่งตามลักษณะ การเฝ้าระวังตามกลุ่มอาการ (Syndromic surveillance) การเฝ้าระวังทางอาการ (Clinical surveillance) การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory surveillance) Source : นสพ.การุณ ชนะชัย

8 ความคาดหวังต่อความพร้อมห้องปฏิบัติการ
มีความสามารถในการตรวจหาเชื้อก่อโรคด้วยวิธีที่สะดวก รวดเร็ว แม่นยำ และได้มาตรฐาน การเข้าถึงการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายห้องปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานอื่นทั้งในและต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัย บริษัทเอกชน ฯ องค์กรระหว่างประเทศ ฯ


ดาวน์โหลด ppt สพ.ญ.วิรงรอง หุ่นสุวรรณ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google