งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ภายใต้แนวคิดการปฏิรูปประเทศไทย 8 กันยายน ภูเขางามรีสอร์ท นครนายก นายแพทย์สุธี ฮั่นตระกูล รองนายกเทศมนตรีนครพิษณุโลก

2 แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559

3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549

4

5 กระจายอำนาจจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น
อปท. ชุมชน ประชาชน ภาคประชาสังคม (ท้องถิ่นปกครองตนเอง) ยุบเลิกราชการส่วนภูมิภาค ประสานนโยบาย วิชาการ สนง.สาขาของราชการส่วนกลาง สนง.ตรวจสอบและเสนอแนะท้องถิ่น

6

7 น้ำ สุขอนามัย และการสุขาภิบาล ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
Charter of the Regional Forum on Environment and Health Southeast and East Asian Countries-Framework for Cooperation Bangkok Declaration on Environment and Health คุณภาพอากาศ น้ำ สุขอนามัย และการสุขาภิบาล ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ การเตรียมการและการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

8 แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2551-2554
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันในสังคม หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย หลักการกระจายอำนาจ หลักการระวังไว้ก่อน หลักการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะ หลักการของปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมและมลพิษที่สามารถข้ามพรมแดนได้ หลักการบริหารจัดการที่ดี หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน

9 แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559
ประชากรทั่วโลกที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง มีมากกว่าร้อยละ 50 ประเทศไทยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองประมาณร้อยละ 36 เพิ่มการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

10 อดีต...

11

12 Hazardous Waste Drop off Collection Transport Storage Disposed by
Private Company Transport Storage

13 Phitsanulok Mechanical Biological Treatment – MBT
Suthi Hantrakul Deputy Mayor, Phitsanulok City Municipality

14 Infectious Waste : Incinerate

15 Scheme of the current windrow and ventilation system
Dipl.-Bioi. Gabriele Janikowski, IKW GmbH

16 MBT on Landfill

17 Screening

18 Compost-Like Substance
Biomass : For Gasification

19 Refuse Derived Fuel :RDF

20

21 Pyrolysis to liquid fuel

22 ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
- การจัดหาน้ำสะอาด น้ำประปา - การควบคุมมลพิษทางน้ำ - การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียที่มีลักษณะ เป็นของแข็ง - การควบคุมสัตว์อาร์โทรพอดและสัตว์แทะ - มลพิษของดิน - การสุขาภิบาลอาหาร - การควบคุมมลพิษทางอากาศ

23 ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
- อาชีวอนามัย - การควบคุมมลพิษทางเสียง - ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม - การวางผังเมือง - งานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการคมนาคม - การป้องกันอุบัติภัยต่างๆ - การสุขาภิบาลของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ - การดำเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นของประชากร - มาตรการป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปปราศจากความเสี่ยง หรืออันตรายใด ๆ

24 ทิศทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อม
ทวีสุข พันธุ์เพ็ง สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย

25 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
- เดิมเป็นหลักการควบคุมป้องกันโรคในงาน สาธารณสุข -เน้นการดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ภาครัฐ -เน้นเนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม -ใช้มาตรการทางกฎหมายประกอบ

26 ประเด็นสำคัญของสถานการณ์งานอนามัยสิ่งแวดล้อมของไทย
-การกระจายอำนาจสู่การปกครองท้องถิ่น -การเข้าถึงบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม -การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม -ประชาสังคม ภาคธุรกิจ ตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อการดำเนินงาน -การปฏิบัติตามอนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศยังไม่สมบูรณ์ -นโยบายการพัฒนาด้านอื่นๆ ครอบคลุมงานอนามัยสิ่งแวดล้อมบูรณาการ -หลายหน่วยงานร่วมกันรับผิดชอบ – หลายเจ้าภาพ

27 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน 3. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสันติและเกื้อกูล 4. พัฒนากลไกการขับเคลื่อนดุลยภาพการพัฒนาในชุมชน

28 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการประเทศสู่ความยั่งยืน
1. ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐให้มีธรรมาภิบาลกระจายอำนาจให้ อปท.รับผิดชอบจัดบริการสาธารณะในท้องถิ่น/ชุมชน 2. สร้างความเข้มแข็งภาคประชาชน / ประชาสังคมในการบริหารจัดการประเทศ 3 .พัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในสังคมไทย 4. ส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชนให้เข้มแข็ง สุจริต มีธรรมาภิบาล 5. ปรับโครงสร้าง กลไก และกระจายการจัดสรรทรัพยากรภาครัฐสู่ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน

29 การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา - แยกส่วน ขาดการบูรณาการ / ขาดการมองภาพรวม - ยึดตัวเหตุทางสิ่งแวดล้อมที่ก่อผลกระทบสุขภาพเป็นหลัก - ขยะ - ของเสีย / สิ่งปฏิกูล - มลพิษสิ่งแวดล้อม - การปนเปื้อนอาหารและน้ำดื่ม ฯลฯ - เน้นเชิงเทคนิค – เทคโนโลยี / วิทยาศาสตร์ - ขาดมิติทางสังคม - ขาดมิติทางการบริหาร / กระบวนการนโยบาย - ขาดการมองงานลักษณะภาคีหุ้นส่วน / บทบาทที่เหมาะสมของภาคีต่างๆ - ไม่ครอบคลุมเนื้อหางานสาธารณสุขตามแนวคิดใหม่ - นักอนามัยสิ่งแวดล้อม / ท้องถิ่น บทบาทหลักจำกัดอยู่กับด้านเทคนิค และ การใช้กฎหมาย

30 สิ่งที่ควรดำเนินการต่อไป 1
สิ่งที่ควรดำเนินการต่อไป 1. ด้านการบริหารจัดการ - นโยบายและแผนอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่มาจากภาคีร่วมร่วมกันจัดทำขึ้น - กลไกคณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงานเพื่อการประสานงานและติดตามการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ - การพัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีสมรรถนะหลักในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับต่างๆ - การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาระบบการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การพัฒนานโยบายและแผนเพื่อสร้างความเสมอภาคให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสให้เข้าถึงบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

31 ด้านวิชาการ การพัฒนางานประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบาย - การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมแก่ภาคีในการสืบค้นและควบคุมป้องกันปัญหา - การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่เหมาะสมกับบริบทด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในระดับต่างๆ

32 3. ด้านกฎหมาย - การพัฒนาการใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล - การพัฒนามาตรการสนับสนุนการใช้กฎหมาย 4. ด้านสังคม - การพัฒนาแนวทางสร้างความเสมอภาคด้านสุขภาพโดยใช้งานอนามัยสิ่งแวดล้อม - ปลูกจิตสำนึก สร้างความตระหนัก การตลาดทางสังคม และสร้างกระแสสังคมเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน - พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคี

33 แนวทางการดำเนินการในอนาคตที่ต้องการเห็น
- การทำงานแบบมีส่วนร่วมที่ชัดเจนขึ้น - เครือข่าย - การทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างมีศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกัน - อยากเห็นการพูดคุยกันมากขึ้น เพราะจะทำให้รู้จัก รัก และร่วมมือกันทำงานมากขึ้น เจ้าเป็นไผ ? หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องทำความรู้จัก อปท. มากกว่านี้ กระแสโลก –Global Trend

34 ผู้เขียน : อีวาน อีลิช แปลโดย: นพ. สันต์ หัตถีรัตน์

35 Thank you For Your Attention


ดาวน์โหลด ppt มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google