ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยOn choi Praves ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ. 2553 ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
2
มาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกา โอนกิจการบริหารและอำนาจ หน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไป ตาม พรบ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ. ศ. 2545 บัญญัติ ให้โอนกิจการและอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีในส่วน ของสำนักงบประมาณเฉพาะงาน ที่เกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่ง ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว เป็นของสำนักงาน ก. พ.
3
สำนักงาน ก. พ. ได้จัดระบบตำแหน่ง ลูกจ้างประจำของ ส่วนราชการในสังกัดฝ่ายบริหารที่ เบิกจ่ายเงินจากงบประมาณ งบบุคลากร จัดตำแหน่งลูกจ้างประจำตามลักษณะงาน เป็น 4 กลุ่มงาน มีสายงานทั้งหมด 356 สายงาน ได้แก่ 1.1 กลุ่มงานบริการพื้นฐาน หมายถึง กลุ่ม ตำแหน่งในสายงานที่มี ลักษณะงานให้บริการเป็นหลัก หรือเป็น งานพื้นฐานของส่วนราชการ มีจำนวน 55 สายงาน
4
1.2 กลุ่มงานสนับสนุน หมายถึง กลุ่ม ตำแหน่งในสายงานที่มีลักษณะงาน ในการช่วยปฏิบัติหรือสนับสนุนผู้ปฏิบัติ ภารกิจหลัก มีจำนวน 150 สายงาน 1.3 กลุ่มงานช่าง หมายถึง กลุ่มตำแหน่งใน สายงานที่มีลักษณะงานใน การปฏิบัติงานช่าง ได้แก่ สร้าง ใช้ ซ่อมแซม ปรับแก้ ติดตั้ง ประกอบเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ มี จำนวน 141 สายงาน 1.4 กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ หมายถึง กลุ่ม ตำแหน่งในสายงานที่ มีลักษณะงานที่ต้องใช้ความสามารถ เฉพาะตัว ทักษะพิเศษ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ เฉพาะในการปฏิบัติงาน มีจำนวน 10 สายงาน
5
กำหนดระดับชั้นงานของตำแหน่งใน แต่ละกลุ่มงานดังนี้ : 2.1 กลุ่มงานบริการพื้นฐาน มี ระดับชั้นงานไม่เกิน 2 ระดับ ได้แก่ 2.1.1 ระดับ บ 1 เป็นตำแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานชั้นต้น 2.1.2 ระดับ บ 2 หรือ บ 2/ หัวหน้า เป็นตำแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ และความชำนาญ งานหรือเป็นตำแหน่งหัวหน้า งาน
6
2.2 กลุ่มงานสนับสนุน มีระดับชั้นงานไม่เกิน 4 ระดับ ได้แก่ 2.2.1 ระดับ ส 1 เป็นตำแหน่งผู้ปฏิบัติงาน ชั้นต้น 2.2.2 ระดับ ส 2 หรือ ส 2/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความชำนาญงานหรือ เป็นตำแหน่งหัวหน้างาน 2.2.3 ระดับ ส 3 หรือ ส 3/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความชำนาญงานสูง หรือ เป็นตำแหน่งหัวหน้างาน 2.2.4 ระดับ ส 4 หรือ ส 4/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความชำนาญงานสูงมาก หรือเป็นตำแหน่ง หัวหน้างาน
7
2.3 กลุ่มงานช่าง มีระดับชั้นงานไม่เกิน 4 ระดับ ได้แก่ 2.3.1 ระดับ ช 1 เป็นตำแหน่งผู้ปฏิบัติงาน ชั้นต้น 2.3.2 ระดับ ช 2 หรือ ช 2/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความบำนาญงาน หรือเป็นตำแหน่งหัวหน้างาน 2.3.3 ระดับ ช 3 หรือ ช 3/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความชำนาญงานสูง หรือเป็นตำแหน่ง หัวหน้างาน 2.3.4 ระดับ ช 4 หรือ ช 4/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์และความชำนาญงานสูง มาก หรือเป็นตำแหน่ง หัวหน้างาน
8
2.4 กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ มีระดับชั้นงาน ไม่เกิน 3 ระดับ ได้แก่ 2.4.1 ระดับ ท 1 เป็นตำแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะพิเศษเฉพาะ 2.4.2 ระดับ ท 2 หรือ ท 2/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ทักษะพิเศษและความสามารถเฉพาะ อย่างสูง หรือเป็น ตำแหน่งหัวหน้างาน 2.4.3 ระดับ ท 3 หรือ ท 3/ หัวหน้า เป็น ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มี ทักษะพิเศษและความสามารถเฉพาะ อย่างสูงมาก หรือเป็น ตำแหน่งหัวหน้างาน
9
การใช้ชื่อตำแหน่งลูกจ้างประจำ ซึ่งไม่ได้ทำหน้าที่หัวหน้างาน ให้ ใช้ตามชื่อสายงานและระดับชั้น งาน เช่น พนักงานขับรถยนต์ ระดับ ส 1 ส่วนตำแหน่งซึ่งทำหน้าที่หัวหน้า งานให้ใช้ชื่อสายงานและระดับชั้น งาน เช่น พนักงานขับรถยนต์ ระดับ ส 2/ หัวหน้า หรือ อาจใช้ ชื่อตำแหน่งทางการบังคับบัญชา โดยระบุคำว่า “ หัวหน้า ” และชื่อ สายงาน ( ไม่ต้องระบุระดับชั้น งาน ) เช่น หัวหน้าพนักงานขับ รถยนต์
10
การกำหนดให้ระบบตำแหน่ง ลูกจ้างประจำ มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
11
การบริหารอัตรากำลัง ลูกจ้างประจำตามระบบนี้ เช่น การปรับระดับชั้นงาน การ เปลี่ยนชื่อตำแหน่ง สายงาน หรือกลุ่มงาน ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ที่สำนักงาน ก. พ. จะกำหนดต่อไป
12
การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่ง การกำหนดอัตราค่าจ้างของ ตำแหน่งและ การบริหารงานบุคคลของ ลูกจ้างประจำในตำแหน่งที่ กำหนดตามหนังสือสำนักงาน ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ ว 14 ลง วันที่ 31 มีนาคม 2553 ให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลัง กำหนด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.