ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDanai Damrongsak ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค
2
จำนวนบัตร รง. 506 แยกตามระดับสถานบริการที่ส่งบัตร รง. 506
การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนบัตร รง. 506 แยกตามระดับสถานบริการที่ส่งบัตร รง. 506 เดือน พฤศจิกายน 2557 ทั้งหมด บัตร
3
ระบาดวิทยา การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 สัปดาห์ที่ 44-47
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนครั้งการส่งบัตร รง.506 เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของศูนย์ระบาดอำเภอ ครั้ง/สัปดาห์ สัปดาห์ที่ ศูนย์ระบาด
4
ระบาดวิทยา การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนครั้งการส่งบัตร รง.506 เฉลี่ยต่อเดือนของศูนย์ระบาดอำเภอ ครั้ง/เดือน พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ระบาด
5
ระบาดวิทยา ร้อยละของสถานบริการที่ส่งบัตรรายงาน 506
การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของสถานบริการที่ส่งบัตรรายงาน 506 เดือน พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ สถานบริการ
6
ระบาดวิทยา ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557
7
ระบาดวิทยา ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506
ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 หน่วยงานโรงพยาบาล พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ โรงพยาบาล
8
ระบาดวิทยา ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506
ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 หน่วยงานสถานีอนามัยในสังกัด สสอ. ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ สสอ.
9
ระบาดวิทยา จำนวนป่วย 10 อันดับโรค
สถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนป่วย 10 อันดับโรค จำนวน เดือน พฤศจิกายน 2557 (1 พ.ย. – 30 พ.ย.57) โรค
10
ระบาดวิทยา อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของ 10 อันดับโรค
สถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของ 10 อันดับโรค จังหวัดสตูล (1 มกราคม – 30 พฤศจิกายน ปี 2557) อัตราป่วย โรค
11
ระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.สตูล
สถานการณ์ไข้เลือดออก 30 พฤศจิกายน 2557 ระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.สตูล
12
อัตราป่วยต่อแสน ปี 2530 - 2557 170 ราย เสียชีวิต 1 ราย
อัตรา/แสน ปี 170 ราย เสียชีวิต 1 ราย * ข้อมูล (1 มค.30 – 31 พ.ย.57)
13
ผู้ป่วยรายเดือน ปี 2557 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีและข้อมูลปี 2556
ผู้ป่วยรายเดือน ปี เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีและข้อมูลปี 2556 * ข้อมูล (1 มค.57 – 30 พ.ย.57)
14
เฉลี่ยต่อสัปดาห์(1-47) = 3.6 ราย
จำนวนผู้ป่วย จำแนกรายสัปดาห์ ปี 2557 เปรียบเทียบ ค่ามัธยฐาน และ ข้อมูลปี 2556 เฉลี่ยต่อสัปดาห์(1-47) = 3.6 ราย * ข้อมูล (1 มค. – 30 พ.ย.57)
15
อัตราป่วยจำแนกรายอำเภอ ปี 2557
*เสียชีวิต 1 ราย *23.30 ( 4 ราย) 12.89( 3 ราย) ทุ่งหว้า มะนัง *18.01 ( 6 ราย) ละงู ควนกาหลง (77 ราย) ท่าแพ ควนโดน 19.85( 5 ราย) *46.73 ( 13 ราย) เมือง 0 -25 / แสนประชากร / แสนประชากร 50.01 – 75 / แสนประชากร 75.01–100/ แสนประชากร > / แสนประชากร *55.79 ( 62 ราย) ข้อมูล (1 มค. – 30 พ.ย.57)
16
อัตราป่วยจำแนกรายอำเภอ ปี 2557
*เสียชีวิต 1 ราย ทุ่งหว้า มะนัง Pt เพศชาย อายุ 1 ปี 8 เดือน บ้านเลขที่ 47 ม.3 ต.นิคมพัฒนา อำเภอมะนัง เริ่มป่วย 21 พ.ย.57 ด้วยอาการ ไข้ หนาวสั่น ท้องอืด -22 พ.ย.57 รักษาคลินิกเอกชน อ.เมือง -23 พ.ย.57 รักษาคลินิกเอกชน อ.มะนัง -23 พ.ย.57 เวลา น. เข้ารับการรักษา รพ.มะนัง ด้วยอาการ 2 วันก่อนมา รพ. ไข้ ไอ ท้องอืด ถ่ายเหลว 1 ครั้ง(ถ่ายเหลวสีเขียวไม่ได้บอกแพทย์) อาเจียน 1 ครั้ง -25 พ.ย.57 มีอาการหายใจลำบาก มารดาจึงพามา รพ.มะนัง อีกครั้ง เวลา น. T = 37.1 R = 20 P= ไม่มี ส่ง X-ray ปอด =น้ำท่วมปอด ตรวจร่างกายอีกครั้ง T = 38 R = 30 P= 150 ตัดสินใจส่งต่อ(16.00 น.) ละงู ควนกาหลง ท่าแพ ควนโดน เมือง รพ.สงขลา ตอบรับ เวลา น. เสียชีวิต 26 พ.ย.57 เวลา น. รพ.สตูล รพ.หาดใหญ่ รพ.เอกชน
17
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง
18
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย(ชิคุนกุนยา)
เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 ได้ตรวจสอบการระบาดประจำสัปดาห์ด้วยโปรแกรม R 506 พบว่ามีการรายงานโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จำนวน 111 ราย พบสูงสุดที่อำเภอตากใบ จำนวน 97 ราย ผู้ป่วยทั้งหมดเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตากใบ จากรายงานผู้ป่วยรายแรกมีวันเริ่มป่วยเมื่อวันที่ 3 กันยายน ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
21
มาตรการรณรงค์ป้องกันควบคุม โรคไข้ปวดข้อยุงลาย(ปี 2552)
3 วัน 3 สัปดาห์ 3 เดือน ใต้ร่วมใจขจัดภัยไข้ปวดข้อยุงลาย (ยุทธการ 90 วัน ใต้ร่วมใจขจัดภัยไข้ปวดข้อยุงลาย)
22
โดยกลวิธี 3 รบ รบรุก เปลี่ยนการตั้งรับเป็นการรุกค้นหาผู้ป่วย โดยให้ อสม. เอ็กเรย์เต็มพื้นที่ รายงานผู้ป่วย แจกยาทากันยุงป้องกัน ภายใน 3 วัน รบเร็ว นำข้อมูลจาก อสม. มาวางแผนรบทำลายพาหะนำโรค ระดมทรัพยากรในพื้นที่ และจัดเตรียมความพร้อมโดยเร็ว เร่งกำจัดลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ และยุงตัวแก่ 3 สัปดาห์ติดต่อกัน รบแรง ระดมทรัพยากรและมาตรการสำคัญทั้งหมด ทะกบ้าน ทุก อสม. ทุกหน่วยบริการ ควบคุมอย่างเต็มที่ ในการรบทุกครั้ง และต่อเนื่องในพื้นที่จนครบ 3 เดือน
23
สถานการณ์ไวรัสอีโบลา
26
โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย MERS-CoV ไวรัสอีโบลา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.