ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhloi Praphasirirat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิค
2
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 2. ขั้นการออกแบบ Design 3. ขั้นการพัฒนา Development 4. ขั้นการนำไปใช้ Implementation 5. ขั้นการประเมินผล Evaluation
3
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis
1. หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก ตาม เกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้สูตร E1/E2 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง ที่ 1 และกลุ่มควบคุม โดยใช้สูตร Pool variances Independent Samples t-test
4
2. ขั้นการออกแบบ Design 1.เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซ นิก 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการ ตรวจสอบวัสดุ ด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิกระหว่างการ สอนปกติกับการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน
5
3. ขั้นการพัฒนา Development
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง โปรแกรมบทเรียนวิชาการทดสอบ วัสดุวิศวกรรม 1 เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก ที่ใช้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์เขียนโดยใช้โปรแกรมการประพันธ์ (Authoring Language) งานวิจัยนี้จะใช้โปรแกรม Authorware Version 6 โดยจัดทำเป็น CD-Rom ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของนักศึกษาในการเรียนรู้ ซึ่งวัดได้ จากคะแนนแบบทดสอบจากการเรียนเรื่องการตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้า โซนิกการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การสอนที่ให้ นักศึกษาศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
6
การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก หมายถึง การตรวจสอบแบบไม่ทำลายเพื่อหาตำหนิหรือข้อบกพร่องของชิ้นงานโดยไม่ทำให้ชิ้นงานที่ตรวจสอบนั้นเปลี่ยนรูปร่างไปจากเดิมประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง ร้อยละผลเฉลี่ยของคะแนนการทำงานและการประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทั้งหมดต่อร้อยละของผลการสอบหลังเรียนของผู้เรียนทั้งหมด ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแทนด้วย E1/E2 เมื่อ E1 หมายถึง คะแนนการทำกิจกรรมหรือการตอบคำถามระหว่างการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน E2 หมายถึง คะแนนการสอบหลังจากศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการวิจัยครั้งนี้กำหนดให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพเป็น 80/80 การสอนตามแผนการสอน หมายถึง การสอนในชั้นเรียนปกติโดยที่นักศึกษาไม่ได้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
7
4. ขั้นการนำไปใช้ Implementation
1. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การทดลองภาคสนามเบื้องต้นกับนักศึกษา จำนวน 3 คน และการทดลองขั้นทดสอบกลุ่มย่อยกับ นัก ศึกษา จำนวน 6 คน เป็นการนำผลมาวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนให้ดีขึ้น การทดลองวิจัยขั้นทดสอบเชิงปฏิบัติการ กับกลุ่มทดลองที่ 2 เป็นการทดลองวิจัยเพื่อหาค่าประ สิทธิ ภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุ่มทดลองที่ 1 กับกลุ่มควบคุมนำคะแนนที่ได้ จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนของกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มควบคุมมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตร Pool variances Independent Samples t-test
8
5. ขั้นการประเมินผล Evaluation
1. ผู้ทำการวิจัยควรศึกษารูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วัตถุประสงค์ การ นำเสนอ และ วิธีการจูงใจ รวมทั้งมีความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เพื่อที่จะสามารถสร้างบทเรียนให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2. การเลือกใช้สื่อประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรคำนึงถึงความพร้อมของ สถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้สื่ออย่างคุ้มค่า ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการทดสอบวัสดุวิศวกรรม 1 ในเรื่องอื่น ๆ อีก 2. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สามารถนำไปใช้ในระบบ อินเตอร์เน็ตได้ ปี 2545
9
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ขั้นการวิเคราะห์ Analysis หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบของ ADDIE model เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง ขั้นการออกแบบ Design ขั้นการพัฒนา Development นักศึกษา ขั้นการประเมินผล Evaluation ขั้นการนำไปใช้ Implementation นักศึกษา ผู้ทำการวิจัยควรศึกษารูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความพร้อมของสถานศึกษา
10
ผู้จัดทำ นางสาวนงเยาว์ บัวเจริญ รหัสนักศึกษา 541121051 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.