ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTukata Kunakorn ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โดย นางสาวดวงรัตน์ อยู่ศรีเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
2
จากการสังเกตุของผู้วิจัย ซึ่งเป็น ครูผู้สอนรายวิชาการเงินส่วน บุคคล พบว่านักเรียนระดับชั้น ปวช.1 คำนวณการจัดทำ งบประมาณการเงินไม่ถูกต้อง ขาดทักษะทางการคำนวณ แยก การประมาณการรายรับ การ ประมาณการรายจ่าย และการสรุป งบประมาณ ส่งผลให้คะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่ กำหนดไว้
3
เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการเงินส่วนบุคคล เรื่อง การจัดทำงบประมาณการเงิน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน โดยใช้แบบฝึกเสริมหลัง เลิกเรียน
4
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแบบ ฝึก แบบฝึกคะแนน ระหว่าง เรียน คะแนน หลัง เรียน ประสิทธิ ภาพ ของ แบบฝึก คะแนน เต็ม 6030- ค่าเฉลี่ย 49.8325.63- ร้อยละ ของ ค่าเฉลี่ย 83.0585.4383.05/ 85.43 จากตารางที่ 1 พบว่า แบบฝึกเรื่องการ จัดทำงบประมาณการเงิน มีประสิทธิภาพ 83.05/85.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
5
ค่าสถิ ติ N คะแ นน เต็ม X S.D.t-testsig ผล การ เรียน ก่อน เรียน 45309.331.8531.26**.000 หลัง เรียน 453020.093.58 ระดับนัยสำคัญ **p <.05 จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมหลังเลิกเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน โดยคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 9.33 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.85 คะแนนหลัง เรียนเท่ากับ 20.09 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.58 เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เท่ากับ 10.76 และ 2.30 ค่า t เท่ากับ 31.26 อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ.05
6
นักเรียนที่เรียนรายวิชาการเงิน ส่วนบุคคล เรื่อง การจัดทำ งบประมาณการเงิน โดยใช้แบบ ฝึกเสริมหลังเลิกเรียน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ.05
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.