ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPiam Suttirat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม และ Davenport and Prusak (1998) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ ที่เป็นสภาพแวดล้อมและกรอบการ ทำงาน สำหรับการประเมินและรวมกันของ ประสบการณ์และสารสนเทศใหม่ Srinivas กล่าวถึง ช่องว่างของความรู้ (Knowledge) เป็นช่องว่างของ ความรู้ที่แสดงให้เห็นว่า “ ตนเองไม่มีความรู้ ” เป็น หนทางหนึ่งขององค์การในการพัฒนาบุคคล โดยใช้ กระบวนการของการจัดการความรู้เพื่อลดช่องว่าง และเติมเต็มความรู้ให้แก่บุคลากรเหล่านั้น
2
ข้อมูล (Date) หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการ ทำงานประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระบบปฏิบัติการ และเมื่อข้อมูลดิบเหล่านั้นได้ผ่านกระบวนการประมวลผล เช่น การจัดกลุ่มของข้อมูลขึ้นเป็นรายงาน หรือการ คัดเลือกข้อมูลที่ไม่จำเป็นออกจากระบบเหล่านี้เป็นต้น ดังนั้น การกำหนดคุณค่าจึงขึ้นอยู่กับ “ ความตรงต่อความ ต้องการในการใช้งาน ” ส่วน ความรู้ (Knowledge) เป็น กระบวนการของการขัดเกลา เลือกใช้และบูรณาการ หากเมื่อความรู้เหล่านั้นได้ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปของ การเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร ความรู้นั้นก็จะ กลายเป็นความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (explicit knowledge) ความรู้ดังกล่าวจะมีคุณค่าเมื่อนำมาใช้ในกระบวนการ ตัดสินใจ (decision making) สารสนเทศเดิมที่เคยไร้ คุณค่าสำหรับคนอีกกลุ่มก็ได้ ในทางกลับกัน สารสนเทศ เดิมที่เคยไร้คุณค่า
3
เป้าหมายของการจัดความรู้คือ การใช้ประโยชน์จากความรู้ มาเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินการขององค์การ และวัตถุประสงค์ของการจดความรู้ มีดังนี้ ๑. เพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานทางธุรกิจที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบัน ๒. เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ๓. เพื่อปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาองค์ความรู้และนำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์
4
ประโยชน์ของการจัดความรู้ได้ ๘ ประการ ดังนี้ ๑. ป้องกันความรู้สูญหาย ๒. เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ๓. ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุ่น ๔. ความได้เปรียบในการแข่งขัน ๕. การพัฒนาทรัพย์สิน ๖. การยกระดับผลิตภัณฑ์ ๗. การบริการลูกค้า ๘. การลงทุนทางทรัพยากรมนุษย์
5
ระบบ E-LEANING ความหมายของ e-Leaning e-Learning (Electronic learning) คือการ เรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือการใช้เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยมีการพัฒนาตลอดเวลา ตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาส่งเสริมการ เรียน การสอน ให้เกิดประสิทธิผล electronic หรือ internet เป็นสื่อ คำที่มีความหมายใกล้เคียง เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI = Computer Assisted Instruction) หรือ การสอนบนเว็บ (Web=Web based Instruction)
6
องค์ประกอบของ E-LEARNING องค์ประกอบของ e-learning ๑. ระบบจัดการศึกษา (Management Education System) ๒. เนื้อหารายวิชา เป็นบท และเป็น ขั้นตอน (Contents) ๓. สามารถสื่อสารระหว่างผู้เรียน และ ผู้สอน หรือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน (Communication) ๔. วัดผลการเรียน (Evaluation)
7
รูปแบบการพัฒนา E-LEARNING ในประเทศ ไทย สามารถแบ่งได้ ๓ ลักษณะ คือ ๑. รูปแบบเอกสารเว็บ คือการสร้างเว็บไซต์ที่นำเสนอ เนื้อหาวิชาต่างๆ และความรู้จากระบบการเรียนการสอน ๒. รูปแบบ LMS คือการออกแบบที่ใช้ความสามารถของ ซอฟต์แวร์บริหารจัดการการเรียนการสอน ๓. รูปแบบอิงมาตรฐานทั้งระบบและเนื้อหา คือการเรียนการ สอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์ความรู้ด้วย Module สำเร็จรูปพร้อมใช้งาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.