ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNakarin Anand ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12
2
สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว ข้อดี สร้างทางเลือกในการทำงานให้กับ ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่
3
ปัญหาที่พบ การสื่อสารกระบวนการนิเทศยังไม่ ชัดเจน ( ข้อมูลไม่นิ่ง ) ขาดการ feed back การนิเทศติดตาม งาน ขาดรายละเอียด รอบที่ 1 ควรนิเทศกระบวนการก่อน รอบที่ 2 ดูความก้าวหน้า แผนประเมิน 22 ข้อ ไม่มีนิยามที่ ชัดเจน พื้นที่ต้องตีตวาม เช่น การใช้บ้านเป็นที่ทำงาน ( บ้านใคร ผู้ป่วย เอง หรือ บ้านเจ้าหน้าที่ ) ทำให้เกิดความ เข้าใจคลาดเคลื่อน
4
ข้อเสนอแนะ ผู้รับนิเทศ ควรสรุปข้อมูลพื้นฐานให้ผู้นิเทศ ทราบ ก่อนผู้นิเทศลงพื้นที่จริง ใน ระดับภาพ CUP เช่น profile ของ รพ. สต. ที่ชัดเจน
5
ข้อเสนอแนะ ผู้นิเทศ ศึกษา Profile ของ รพ. สต. จัดทำคู่มือนิยาม โดยเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องทุกระดับ เน้นการสื่อสาร ในทุกระดับ เพื่อความ ชัดเจน พัฒนาศักยภาพผู้นิเทศ นิเทศไขว้จังหวัด โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ ในแต่ละจังหวัดและส่วนกลาง
6
ข้อมูลการประเมิน ที่ Feed back กลับมายังพื้นที่ ต้องมีรายละเอียด ชัดเจน สร้างคุณค่าของผู้นิเทศงาน เช่น การ Empowerment พื้นที่ เพื่อ เสริมพลัง และการผลักดันให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ( ต่อ )
7
2. การจัดการงบประมาณให้ รพ. สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใส มี ประสิทธิภาพ มีการจัดสรรงบประมาณ ในการ ทำแผนพัฒนา รพ. สต. ในปี 2552 200,000 บาท
8
ปัญหา ความเข้าใจต่อ การดำเนินงานยัง ไม่ชัดเจน ล่าช้า เปลี่ยนเงื่อนไข บ่อยครั้ง พื้นที่สับสนในการให้ข้อมูล เนื่องจากหน่วยงานส่วนกลาง ผู้ ประสานงานมีหลายหน่วย การสื่อสารไม่ชัดเจน “ งบดำเนินการ ” นำไปใช้อย่างไร บ้าง
9
ข้อเสนอแนะ มีการจัดสรรงบประมาณอย่างต่อเนื่อง โดย จัดสรรงบประมาณให้จังหวัดบริหารจัดการ เอง ( ไม่ต้องกำหนดรายการ ) กำหนดเพียง หมวดการใช้จ่าย เช่น หมวดครุภัณฑ์ มีหน่วยประสานงาน แบบ One Stop Service ในทุกระดับ มี คกก. บริหารจัดการ รพ. สต. จากทุกภาค ส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาค ประชาชน เพื่อความโปร่งใส และเป็นธรรม ตรวจสอบได้ ส่วนกลาง ควรมีปฏิทินในการทำงานที่ ชัดเจน เพื่อให้พื้นที่สามารถบริหารจัดการ เวลาในการปฏิบัติงาน ได้อย่างมคี ประสิทธิภาพ
10
3. การระดมทรัพยากร การทำงาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย วิธีการ มีการตั้ง คกก. รพ. สต. ระดับตำบล จากทุกภาคส่วน มีการประชาสัมพันธ์ รพ. สต. ให้ ประชาชน ทราบ ผ่านทางสื่อท้องถิ่น ใช้ Evidence Base ในการเสนอขอ งบประมาณ จัดทำแผนให้สอดคล้องกับ งบประมาณของท้องถิ่น
11
ใช้กลไกความสัมพันธ์ เปรียบเสมือนญาติ เทคนิค 3 ก 1) กองทุน 2) กรรมการ 3) กำลังคน ( อสม./ จิตอาสา ) มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับอำเภอ / จังหวัด / เขต
12
ข้อเสนอแนะ มีแผนพัฒนา รพ. สต. ที่ชัดเจน เพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือในการประสานการ ทำงานกับหน่วยงานอื่น มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจนในทุก ระดับท้องถิ่น การสร้างความเข้าใจเกียวกับการ ดำเนินงาน รพ. สต. กับทุกภาคี เครือข่าย โดยใช้ SRM เป็น เครื่องมือ
13
4. การควบคุมโรคและการ จัดการสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามสุขภาพคนในชุมชน ( โรคติดต่อ ยาเสพติด อุบัติเหตุ น้ำเสีย ขยะ วัยรุ่น ฯลฯ ) วิธีการ สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น พื้นที่มีการรายงานสถานการณ์สุขภาพให้ ประชาชนทราบโดยทั่วถึง ใช้ SRM เป็นเครื่องมือในการประสานความ ร่วมมือในทุกๆด้าน การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน / อปท.
14
ข้อเสนอแนะ ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการกำหนด นโยบายสาธารณะ ( สมัชชา สุขภาพ ) ท้องถิ่น ออกข้อบังคับในการจัดการ สิ่งแวดล้อม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.