ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhiew wan Kongsangchai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 09/04/60
2
1. โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
วงเงินสินเชื่อรวม 20,000 ล้านบาท วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อช่วยชะลอปริมาณข้าวเปลือกที่เข้าสู่ตลาดในช่วงที่ข้าวออกมามาก 2. เพื่อเก็บข้าวเปลือกไว้แปรรูป 3. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการ แปรรูปเป็นข้าวสาร ปริมาณข้าวเปลือก วงเงิน แปรรูปข้าว 400,000 ตันข้าวเปลือก วงเงิน 2,000 ล้านบาท ธ.ก.ส. สถาบันเกษตรกร รวบรวมซื้อมาขายไป แปรรูปเพิ่มมูลค่า - เอกชน - พ่อค้า ข้าวสาร 180,000 ตัน ข้าว เกษตรกรสมาชิก ประโยชน์ที่ได้รับ สถาบันลดภาระดอกเบี้ยจำนวน 800 ล้านบาท เกษตรกรสมาชิก ข้าว เกษตรกรสมาชิก ข้อมูลสถาบันเกษตร สถาบันเกษตรกร 464 แห่ง จำนวนโรงสี 133 แห่ง ปริมาณข้าวเปลือกและวงเงิน - รวบรวมข้าว 3-4 ล้านตันข้าวเปลือก - วงเงิน 18,000 ล้านบาท หลักเกณฑ์เงื่อนไขที่สำคัญโครงการ - สถาบันเกษตรกร(สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) มีศักยภาพ และผลประกอบการดี - วัตถุประสงค์เงินกู้เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน - วงเงินกู้ ตามศักยภาพและขีดความสามารถของสถาบัน และแผนธุรกิจ ในการรวบรวมและแปรรูปข้าว กำหนดชำระคืนไม่เกิน 12 เดือนโดยคำนึงถึง จำนวนของเงินกู้ รายได้และความสามารถชำระหนี้ของผู้กู้ - หลักประกันเงินกู้ (จำนอง จำนำผลิตผล หลักประกันอื่นๆ ตามที่ผู้จัดการกำหนด) (กรณีไม่สามารถจัดหาหลักประกันได้ ให้ผ่อนผันให้คณะกรรมการสหกรณ์ค้ำประกันเงินกู้) - อัตราดอกเบี้ย MLR (ปัจจุบัน MLR = 5 %) (สถาบันเกษตรกรจ่าย 1% ธ.ก.ส. จ่าย 1% รัฐบาลชดเชย MLR-1 เป็นเงิน 800 ล้านบาท ระยะเวลาชดเชย 12 เดือน ) ค่าประกันภัยและค่าบริหารจัดการโครงการ 0.5 % เป็นเงิน 100 ล้านบาท 09/04/60
3
3. โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายข้าวสารสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งในและต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ : เพื่อเชื่อมโยงข้าวสารของสหกรณ์ที่มีคุณภาพนำไปสู่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ เป้าหมาย : 1.8 แสนตันข้าวสาร งบประมาณ : ใช้งบประมาณปกติ วิธีการ ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ กรมการค้าภายใน จัดหาช่องทางการจำหน่ายตลาดในและต่างประเทศ 1.1 Contact Farming ระหว่างเกษตรกับผู้ทำข้าวถุง ผู้ประกอบการค้าข้าวผู้แปรรูป และ Modern Trade 2.2 ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำข้าวไปประมูลข้าวสารที่ตลาดกลางประมูลข้าวสาร 2.3 เชื่อมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้าขายในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า (AFET) ในระยะต่อไป 2. เชื่อมโยงตลาด โดยใช้ช่องทางตลาดใหม่ในส่วนราชการ และอื่นๆ เช่น โรงพยาบาล ค่ายทหาร สถานกักกัน เรือนจำ ฯลฯ ซื้อข้าวสารจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไปบริโภค แนวทางที่ 1 ช่วยลดต้นทุนการทำนาของสมาชิกสหกรณ์ แนววทางที่ 2, 3 และ 4 เป็นการเสริมกลไกการตลาดในธุรกิจปกติที่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และตลาดกลางข้าวเปลือกให้ทำหน้าที่กระตุ้นตลาดข้าวเปลือก ผลที่คาดว่าจะได้รับ : 1. เกษตรกรที่ผลิตข้าวคุณภาพ สามารถขายข้าวขายข้าวเปลือกได้ราคาที่เหมาะสมตามกลไกตลาด 2. สร้างแรงจูงใจและความเชื่อมั่นให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แปรรูปข้าวสารเพิ่มขึ้น 3. เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4. ทำให้ระบบเศรษฐกิจในชุมชนหรือในระดับรากหญ้าเกิดความเข้มแข็งในตลาด 09/04/60 3
4
สรุปบทบาทของกรมส่งเสริมสหกรณ์
มาตรการด้านการผลิตและบริการตลาดข้าว ปีการผลิต 2557/58 1. ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์ที่มีอาชีพทำนาไปขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร 2. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวบรวมข้าวเปลือกให้ได้ตามแผน (4 ล้านตัน) 3. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แปรรูปข้าวสารให้ได้ตามแผน (4 แสนตัน) 4. สนับสนุน ผลักดันการเชื่อมโยงตลาดข้าวสารทั้งในและต่างประเทศ (180,000 ตัน) 09/04/60 4
5
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ... สวัสดี เป้าหมายการรวบรวมข้าวเปลือกตามแผน ที่
จังหวัด เขต แผนรวบรวมรายจังหวัด ปี 2557/58 (ตัน) เป้าหมายการรวบรวม ร้อยละ14 ของผลพยากรณ์(ตัน) ผลต่างระหว่าง แผน กับ เป้าหมาย (ตัน) 64 นครศรีธรรมราช 6 11,000 20,803 (9,803) 65 พัทลุง 580 8,943 (8,363) 73 ยะลา 8 1,110 1,435 (325) 74 สงขลา 17,711 (17,711) 75 สตูล 1,766 (1,766) 76 ปัตตานี 6,115 (6,115) 77 นราธิวาส 3,546 (3,546) รวม 11,580 33,292 (21,712) จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ... สวัสดี 09/04/60 5
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.