ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChao fah Jetjirawat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
4
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ
การเลือก จากการจัดทำแผนกลยุทธ์ ของหมวด 2.1ก (1) ผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดตัวชี้วัดหลักของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์/เป้าหมาย ของคณะแพทยศาสตร์ ทั้ง 4 ด้าน รวมถึงตัวชี้วัดของหน่วยงานในแต่ละแผนปฎิบัติการ ตัวชี้วัดหลักด้านการเงินที่สำคัญ อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการดำเนินการ (Activity Ratio) อัตราส่วนความสามารถในการก่อหนี้ (Debt to Equity Ratio) การรวบรวม มีทั้งแบบบันทึกในเอกสารและจากระบบสารสนเทศ
5
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ
จากการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโดยรวมที่ผ่านมา องค์ความรู้และประสบการณ์ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ นำมาตัดสินใจเพื่อดำเนินการสร้างนวัตกรรม * ระบบเอกซเรย์ดิจิตอล * การเพิ่มหอผู้ป่วยใหม่ การปรับปรุงหอผู้ป่วยใน/หอผู้ป่วยวิกฤติ * เปิดบริการเพิ่มคลินิกเฉพาะทาง เช่น คลินิกโรคหัวใจ (Heart Clinic) ศูนย์ส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร (Endoscopy Unit) * ห้องผสมยาเคมีบำบัด
6
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ (ต่อ)
พิจารณาเลือกข้อมูลเชิงเปรียบเทียบของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ กับโรงพยาบาลเอกชนที่มีขนาดและกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใกล้เคียงกัน ข้อมูลเปรียบเทียบที่ถูกคัดเลือกจะนำไปใช้ในการวิเคราะห์ SWOT -การทบทวนและปรับปรุงระบบการวัดผลการดำเนินการรายเดือน รายไตรมาส -ทบทวนผลการดำเนินการประจำวันจากโปรแกรมระบบบริหารจัดการ (MIS) ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลทางการเงินแบบ Real Time เช่น รายได้ประจำวัน ข้อมูลเงินสดรับ-เงินสดจ่าย
7
4.1(ข) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ
ทบทวนผ่านการประชุมต่างๆ เช่น การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา การประชุมระดับหัวหน้าฝ่าย/แผนก/หน่วยงาน การประชุมคณะกรรมการบริหาร การประชุมกลุ่มย่อยของคณะกรรมการ/คณะทำงาน ข้อมูลข้อร้องเรียน ข้อมูลอุบัติการณ์ความเสี่ยง และผลการดำเนินการประจำเดือน สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อผู้รับบริการจำนวนมากเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาด ความปลอดภัยของผู้รับบริการ รวมถึงคุณภาพการรักษาตามข้อกำหนดด้านวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วย จะถูกพิจารณาดำเนินการปรับปรุงเป็นลำดับแรก
8
4.1(ข) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ(ต่อ)
ผลการทบทวนจะเป็นปัจจัยนำเข้าในกระบวนการ PDCA ทุกระดับ ซึ่งจะเป็นส่วนสำคัญในการออกแบบและปรับปรุงกระบวนการ และในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของศูนย์
9
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ
สารสนเทศงานบริการส่วนหน้า (Front Office) สารสนเทศส่วนงานสนับสนุน (Back Office) ระบบเครือข่ายภายใน (Intranet) ระบบเครือข่ายภายนอก (Internet) MIS
10
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ)
Server Room มีคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และ UPS สำรองทดแทน มี Shadow Server จำนวน 2 ชุด ระบบไฟฟ้ากำลังเป็นแบบ Fully Redundancy แยกการใช้งาน และระบบ Internet เครื่อง Client ติดตั้งโปรแกรม Anti Virus และ Firewall มีผู้ดูแลระบบติดตามข่าวสารภัยคุกคามทางระบบเครือข่ายและคอย Update Patched การเข้าถึงข้อมูลในระบบ เป็นไปตามสิทธิ์ที่ได้รับมี ระบบการสำรองข้อมูลทุกวัน
11
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ)
กระแสไฟฟ้าขัดข้อง - มี (UPS) - มีระบบสำรองไฟฟ้าของอาคาร 2. ไวรัส - ติดตั้งระบบ Firewall และ Anti Virus 3. Server/เครือข่าย เสีย - มี Shadow Server จำนวน 2 ชุด - จัดเตรียมอุปกรณ์เครือข่ายสำรอง (Ethernet Switch)ไว้อย่างน้อย 2 ตัว 4. อัคคีภัย - มีอุปกรณ์ดับเพลิงสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ - มีการแยก Backup Server เก็บไว้แยกจาก Main Server - มีระบบการสำรองข้อมูลทุกวัน
12
4.2(ก) การจัดการแหล่งสารสนเทศ (ต่อ)
เปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นแม่ข่ายเมื่อเครื่องแม่ข่ายมีอายุการใช้งาน มากกว่า 5 ปี มีระบบการดูแลเพื่อทบทวนการเพิ่มหรือเปลี่ยนอุปกรณ์สำหรับ Hardware ทุกไตรมาสที่ 3 ของปี จัดพนักงานปฏิบัติงาน 24 ชั่วโมงทั้งระบบฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open System) ของระบบ HIS และระบบ MIS ทำให้สามารถสร้างระบบโปรแกรมตามความต้องการใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
13
4.2(ข) การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และความรู้
ความแม่นยำ ฝึกอบรม,สัญญลักษณ์,บาร์โค๊ด ความถูกต้องเชื่อถือได้ ฝึกอบรม,ทดสอบก่อนใช้งานจริง,Electronic Automatic ความทันเหตุการณ์ Single Database,Scan, Electronic Report การรักษาความปลอดภัยและความลับ การเปิดเผยประวัติการรักษาของผู้ป่วยจะต้องได้รับการยินยอมเป็นลายลักษณ์ นโยบายจากผู้บริหารในการรักษาความลับของผู้ป่วยสำหรับพนักงาน การกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล
14
4.2(ข) การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ (ต่อ)
16
ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมใน
TQA หมวด 4 สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.