ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNatthapong Diskul ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของการรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์นรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์บันทึกภาพ อธิบายความหมายของการส่งออก อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ส่งออก
3
การรับเข้าคืออะไร ข้อมูลเข้า คือ ข้อมูลที่ถูกใช้โดยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถนำเข้าโดยตรงหรือด้วยรูปแบบอื่น อุปกรณ์รับเข้า คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงให้ ระบบสามารถนำไปประมวลผลได้
4
คีย์บอร์ด คีย์บอร์ดแบบดั้งเดิม คีย์บอร์ดพกพา คีย์บอร์ดตามหลักการยศาสตร์ คีย์บอร์ดแบบไร้สาย พีดีเอคีย์บอร์ด
5
อุปกรณ์ชี้ เมาส์แบบใช้แสง เมาส์แบบกลไก เมาส์ไร้สาย แทร็กบอล แผ่นสัมผัส แท่งชี้
6
อุปกรณ์นำเข้า จอสัมผัส จอยสติ๊ก ปากกาแสง สไตลัส
7
อุปกรณ์สแกนภาพ ออปติคอลสแกนเนอร์ – สแกนเนอร์แบบแท่นนอน (Flatbed scanner) – สแกนเนอร์แบบสแกนเอกสาร (Document scanner) – สแกนเนอร์แบบพกพา (Portable scanner)
8
เครื่องอ่านบัตร (Card reader) เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Card reader) เครื่องอ่านบัตรความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency card reader)
9
เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องอ่านแบบมือถือ (Wand reader) เครื่องอ่านแบบติดตั้ง (Platform scanners) ทำงานร่วมกับเครื่องคิดเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Univesal Product Code : UPC)
10
เครื่องอ่านอักขระและเครื่องหมาย เครื่องอ่านอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink Character Recognition : MCR) เครื่องอ่านอักขะด้วยแสง (Optical-Character Recognition : OCR) เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical-Mark Recognition : OMR)
11
อุปกรณ์บันทึกภาพ กล้องถ่ายภาพดิจิทัล กล้องวีดีโอดิจิทัล – เว็บแคมที่ฝังอยู่ในโน้ตบุ๊ค – เว็บแคมแบบติดตั้งบนหน้าจอ
12
อุปกรณ์รับเสียง ไมโครโฟน ระบบรู้จำเสียง (Voice recognition system) – ไมโครโฟน – การ์ดเสียง – ซอฟต์แวร์ประยุกต์ – สั่งงานด้วยเสียง
13
ข้อมูลออกคืออะไร Output คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว จากคอมพิวเตอร์ Output device คือ อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ที่ ได้จากคอมพิวเตอร์ ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ส่งออกเสียง
14
จอภาพ คุณลักษณะ – ความละเอียด (Resolution) – ดอตพิช (Dot pitch) ค่ายิ่งต่ำจะมีความคมชัดมาก ยิ่งขึ้น – อัตราการรีเฟรซ (Refresh Rate) – ขนาด (Size) – อัตราส่วนจอภาพ (Aspect ratio) 4:3 16:9 16:10
15
จอภาพแบบแบน (Flat-panel monitor) จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) – ไม่มีหลอดภาพ ใช้แสงส่องมาที่ผลึกเหลว – ข้อเสีย มองภาพไม่ชัด ปัญหาเดทพิกเซล แสดงสี ผิดเพี้ยน แพสซีฟเมทริกซ์ (Passive-Matrix) – สร้างภาพโดยการสแกนทั้งหน้าจอ – ใช้พลังงานน้อย แต่ภาพไม่ค่อยคมชัด แอ็กทีฟเมทริกซ์ (Active-Matrix) – ใช้การยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปที่แต่ละพิกเซล – ภาพชัดเจน ราคาแพง ใช้พลังงานเยอะ
16
จอแอลอีดี (LED) ใช้เทคโนโลยีเดียวกับจอแอลซีดี ใช้หลอดไฟชนิด Light emitting diode มีสีสันสดใสและคมชัดกว่า ประหยัดพลังงาน มีราคาสูงกว่าแอลซีดี
17
จอภาพแบบหลอดรังสีคาโธด ใช้เทคโนโลยีแบบเดียวกับโทรทัศน์ มีความรวดเร็ว มองได้ชัดทุกมุม ราคาถูกมีขนาดใหญ่ มีความร้อนสูง
18
จอภาพชนิดอื่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book readers) ดาต้าโปรเจคเตอร์ (Data Projectors) กระดานดิจิทัล (Digital Whiteboard) เอชดีทีวี (HDTV)
19
เครื่องพิมพ์ คุณลักษณะ – ความละเอียด มีหน่วยเป็น DPI (Dots per inch) – การพิมพ์สี – ความเร็ว – ความจุของหน่วยจำ
20
เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท สร้างภาพด้วยการพ่นหมึก งานพิมพ์มีคุณภาพ และสีสันหลากหลาย ราคาถูก แต่ หมึกพิมพ์ราคาสูง อัตราความเร็วไม่สูงมากนัก
21
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ ใช้แสงเลเซอร์ในการสร้างการพิมพ์ ราคาแพงกว่าอิงค์เจ็ท พิมพ์ได้รวดเร็วกว่า
22
เครื่องพิมพ์ชนิดอื่น ๆ เครื่องพิมพ์เทอร์มัล (Thermal printer) เครื่องพิมพ์เทอร์มัลสี (Dye sublimation printer) เครื่องพิมพ์ดอตเมทริกซ์ (Dot matrix printer) พล็อตเตอร์ (Plotter) เครื่องพิมพ์พกพา (Portable Printer)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.