ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPasan Puarborn ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก
3
ปัญหาการวิจัย ปัจจุบันการศึกษาถือเป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดที่จะช่วยพัฒนาคนในชาติให้มีความรู้ ความสามารถ การศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ความคิด ทักษะ และทัศนคติแก่ผู้เรียน การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษานับเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนากำลังคนของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาและปรับบทบาทเพื่อให้สามารถเป็นแหล่งผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพควบคู่กับการเป็นแหล่งระดม แสวงหา สร้างเผยแพร่ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี 2 ปี มีแรงจูงใจด้านใด ที่เป็น สิ่งสำคัญในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ซึ่งเป็นสิ่งที่สถาบันควรให้ความสนใจ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการบริหารการศึกษา ให้มีความสอดคล้อง ทางด้านความต้องการของสังคม และความต้องการของผู้เรียน
4
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียน หลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจ 2. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียน หลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต
5
กรอบแนวคิด ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม - เพศ แรงจูใจในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรี - สาขาวิชา - ด้านความคิดส่วนตัว - อาชีพของผู้ปกครอง - ด้านเศรษฐกิจ - รายได้ของครอบครัว - ด้านสังคม - ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง
6
ประชากร จำนวน 45 คน สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ประชากรตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ ที่กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นปีที่ ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา สาขาบัญชี จำนวน 70 คน สาขาการตลาด จำนวน 45 คน สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 64 คน รวมทั้งสิ้น คน
7
สรุปผลการวิจัย แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา ทุกด้านอยู่ในระดับมาก ข้อที่อยู่ในระดับมาก เป็นอันดับแรก คือ ด้านความคิดเห็นส่วนตัว รองลงมา คือ ด้านเศรษฐกิจ และด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อตามลำดับ การเปรียบเทียบแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ ศูนย์โรงเรียนเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ จำแนกตามเพศ โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ โดยที่มีระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมากเท่ากัน จำแนก ตามสาขาวิชาเอก
8
ภาพประกอบ (ถ้ามี)
9
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.