ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ด้วงคีมที่กินเชื้อเห็ด จัดทำโดย ด.ช. ภูมิรพี ไชยประสพ ชั้น ม.1/11 เลขที่ 16 เสนอ อ. อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
3
ด้วงคีมฟันเลื่อย ชื่อไทย: ด้วงคีมฟันเลื่อยธรรมดา ด้วงคีมฟันเลื่อยเหนือ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Dorcus (Serrognathus) titanus platymelus (Saunder, 1854) ลักษณะเด่น: มีสีดำ เพศผู้ขนาดใหญ่มีเขี้ยวใหญ่โค้งโดยเฉพาะใกล้ส่วนปลาย ด้านในมีฟันซี่ใหญ่ใกล้ๆโคนคีม ถัดมามีฟันเรียงกันคล้ายฟันเลื่อย ปีกเรียบ เพศเมียมีขอบตาแคบยื่นเลยกึ่งกลางตามาจนเกือบถึงหลังตา ปีกเรียบ มีรอยแทงเล็กๆเป็นแนวยาวบริเวณขอบๆ ขนาด: เพศผู้ มิลลิเมตร เพศเมีย มิลลิเมตร เขตแพร่กระจาย: อินเดีย จีน เวียดนาม ลาว พม่า และไทย พบทั่วไปทางภาคเหนือ และทางตะวันตกส่วนน้อย
4
ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ชื่อไทย: ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dynodorcus curvidens curvidens (Hope, 1840) ลักษณะเด่น: มีสีดำมัน ส่วนหัวของเพศผู้มีหนามแหลมที่ด้านหน้า 1 คู่ แตกต่างจากด้วงคีมกระทิงดำใหญ่(D.antaeus)ที่ไม่มีหนามดังกล่าว เขี้ยวใหญ่โค้ง แต่ละข้างมีฟันซี่ใหญ่อยู่ตรงกลาง และมีฟันซี่เล็กอยู่ที่ส่วนปลาย ปีกค่อนข้างมันเป็นเงา มีรอยแทงละเอียดเรียงเป็นทาง ในเพศผู้ขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดมาก เพศเมียมีขอบตาแคบ ยื่นเลยกึ่งกลางตามาจนเกือบชิดหลังตา ปีกมีร่องตามแนวยาวประมาณ 12 ร่อง ในร่องที่ 2 , 5 และ 8 จะหนาและลึกกว่าร่องอื่นๆ
5
ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ขนาด: เพศผู้ มิลลิเมตร เพศเมีย มิลลิเมตร เขตแพร่กระจาย: อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังคลาเทศ เวียดนาม ลาว พม่า และไทย พบทางภาคตะวันตกและตะวันออกเฉียงเหนือเล็กน้อย ส่วนใหญ่จะพบมากทางภาคเหนือโดยเฉพาะบนดอยสูง
6
บรรณานุกรม เขียนโดย iDuang Authenticated user เมื่อ 16 กันยายน :07
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.