ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMaladee Darawan ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
หมอครอบครัวประจำตัว ทุกครัวเรือน ปฏิบัติการเร่งรัด ๒๕๕๕ ปฏิ
นักสุขภาพครอบครัว ดูแลดุจญาติมิตร นพ.นิทัศน์ รายยวา
2
ประชาชนเข้าถึงบริการ
วัตถุประสงค์ ประชาชนเข้าถึงบริการ (“มีหมอใกล้บ้าน ใกล้ใจ”) ประชาชนพึ่งได้ตลอด ๒๔ ช.ม. (“มีหมอเป็นญาติประชาชน”) ลดความแออัด ใน รพ.ใหญ่ (“รพ.สต.จัดการโรคเรื้อรังได้”) 2
3
จัดตั้ง ๔ ศูนย์สุขภาพใน รพ.สต.
งานที่เร่งรัด ปี ๕๕ จัดตั้ง ๔ ศูนย์สุขภาพใน รพ.สต. เด็ก..สตรี..ผู้สูงอายุ..ผู้พิการ นักสุขภาพครอบครัว รับผิดชอบประชาชนชัดเจน 1 : 1250 ๑ แพทย์ ๑ รพ.สต. หรือ ๑ ที่ปรึกษา ๑ รพ.สต. “ประชาชน มีญาติเป็นหมอ”
4
ความต่อเนื่อง ๑ หมอ ๑ รพ.สต.
ทำอะไร?ต่อไป ๑. IT ใช้งานทันสมัย ๓๐ เม.ษ.๕๕ เปิดตัว หมอ ครอบครัว ๒.คู่มือที่มีประสิทธิภาพ ๓.ค่าตอบแทนที่เหมาะสม ๔.สวัสดิการที่เพียงพอ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘
5
รูปธรรมงานเน้นหนัก คนไทยทุกคน ได้รับบริการทุกครัวเรือน
สร้างฐานมูล “Data center” ไอที ใน รพ.สต.เชื่อมโยงเป็นระบบ “รพ.สต.เดินได้”(Booth Mobile)สู่ชุมชน คนไทยทุกคน ได้รับบริการทุกครัวเรือน สร้างมูลค่าเพิ่ม(Value-added) หมอที่ปรึกษาเห็นหน้า นสค/ผู้ป่วย ด้วยอุปกรณ์ทันสมัย ที่มีอยู่แล้ว
6
กลไกความสำเร็จ มีนักสุขภาพครอบครัวประจำตัว
นักสุขภาพครอบครัวดูแลถึงบ้าน (ต่อยอด 30 บาท) มีนักสุขภาพครอบครัวประจำตัว ประชาชนช่วยกันดูแลสุขภาพกันเอง เจ็บป่วยดูแลรักษาส่งต่อดุจญาติมิตร 2
7
เห็นชอบในหลักการ ๑.สนับสนุน IT หมอที่ปรึกษา ที่มีระบบการสื่อสารที่ทันสมัย ๒.สนับสนุนรถ Booth mobile “รพ.สต.เดินได้” สู่ชุมชน
8
ประชาชน-ประเทศชาติ ได้อะไร?
๑.เพิ่มการเข้าถึงบริการปฐมภูมิ..ใกล้บ้าน -ลดผู้ป่วยนอก รพท/ศ ครึ่งหนึ่ง ลดเงินค่าใช้จ่ายปีละ แสนล้านบาท ๒.ประชาชนมีอายุคาดเฉลี่ย ๘๐ปี ( ข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ )
9
เสนอที่ประชุมพิจารณาเห็นชอบ
๑.ประชุมใหญ่เปิดตัว “เมษายน ๒๕๕๕” “๑๐๐๐ แรก ๑๐๐๐ โอกาส ๑๐๐๐ สำเร็จ” ๒.สร้างเครือข่าย“หมอครอบครัว” ๓.พิจารณา“แพทย์ที่จบเดือนเมษายน (CPERD) ๓๐ %ปฏิบัติงานเป็นที่ปรึกษาในรพ.สตเพื่อลดภาระงาน รพ.”
10
ปรับอะไร/เมื่อไร ม.ค. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
แผน ๕๕ ม.ค. “ ผลิตทันตาภิบาล(3,154 คน) ให้บริการ รพ.สต.” มี.ค. “ หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน ” เม.ย. พ.ค. “ รพ.สต. ดี้ดี ไอที เชื่อมโยงทุกครัวเรือน ” มิ.ย. “ ศสม. ลดแออัด ชัดเจน ” “ พยาบาลเวชปฎิบัติ ที่พึ่งของครัวเรือน” ก.ค. ส.ค. “ รพ.สต.ปรับระบบ บริการครบทุกครัวเรือน” ก.ย. “ รพ.สต.มาตรฐานมั่นคง ปูพรม ๑๐๐% ” 10
11
ระบบบริการ “ครบคน ครบถ้วน ครบเวลา”
. . 834 แห่ง (80 Node ใหญ่) รพช. 1:20,000-40,000 หนุน สสอ. (PM) ที่ปรึกษา นสค. (1:12) รพ.สต./ หน่วยปฐมภูมิ 1:4,000-12,000 ร่วมงาน อปท. แข็งขัน ทีมงานเข้มแข็ง 9740 แห่ง (5700 เครือข่าย) นสค 1:1,250 ดูแลดุจญาติมิตร ดูแลองค์รวม 50,000 คน (NP 25,000 + อื่นๆ 25,000) อสม. 1:50 อสม. : นสค. = 25:1 1,000,000 คน ประชาชน ดูแลสุขภาพตนเอง ช่วยกันเป็นกลุ่ม/ชมรม 65 ล้าน ระบบบริการ “ครบคน ครบถ้วน ครบเวลา” 11
12
F H p พยาบาลเวชฯ พ.เทคนิค จพสช/จบส นวก.สธ. ทันตาฯ แผนไทย น ส ค 14
13
นสค กองทุนสุขภาพ หุ้นส่วน อปท. พัฒนา พท.ครบวงจร กล้าตัดสินใจ
กล้ารับผิดชอบ เจ้าภาพร่วมปัญหาสุขภาพ กล้าเปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นำ มิตร อสม. สร้างสุขภาพ ที่พัก กำลังใจ นสค ตำแหน่ง 5 ทักษะ ค่าตอบแทน ประสานงาน รักษาเบื้องต้น (NP) Counsellor เปลี่ยนพฤติกรรม ระบาดวิทยา (SRRT) ญาติ ประชาชน 1:1,250 แนะนำ 3 ตัวช่วย ดูแล รักษา มอ.ไซด์ N.Book โทรศัพท์ ส่งต่อ แพทย์ เป็นที่ปรึกษา 12:1
14
พิทักษ์ชุมชนเข้มแข็ง
คุณลักษณะนักสุขภาพครอบครัว นับญาติกับประชาชน อดทนประสานงาน หาญกล้าเป็นเจ้าภาพ กำหลาบภัยอุปสรรค พิทักษ์ชุมชนเข้มแข็ง
15
“ประชาชน มีญาติเป็นหมอ”
การทำงาน ๑ หมอ ๑ ตำบล : ตามนโยบายรัฐมนตรีฯ ครอบครัว/ประชาชน “ประชาชน มีญาติเป็นหมอ” 1 ... ... อสม ... นสค. ... 1,250 1 20 15 2 แพทย์ 1 ... 1 ... ... ... ... 15 1,250 20 2 1 ... 1 12 ... ... ... 15 1,250 20 2 9 1
16
เครือข่ายแพทย์เฉพาะทางสนับสนุน
เครือข่าย ๑ แพทย์ ๑ ตำบล.หรือ.๑ แพทย์ ๑ ที่ปรึกษา เครือข่ายแพทย์เฉพาะทางสนับสนุน วรพงษ์ortho วันเพ็ญEYE วรจิตMED ปิยะพงษ์ENT หัวหน้า มยุรี พี่อิ๋ว วรรณ ตุ้ม ไก่ อ้อ แนนก่ 10
17
“หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน”
บัญญัติ ๑๐ ประการ “หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน” ดูแลประชาชน “ดุจญาติมิตร” เหมือนครอบครัวเดียวกัน ๒. “ส่งเสริม ป้องกัน” ไม่ให้ ประชาชนเจ็บป่วย ๓. เมื่อเจ็บป่วยดูแลครบวงจร “เสมือนญาติ” ๔. ทีมงานมี “หลากหลายทักษะ” ๕. สื่อสารเชื่อมต่อ “อยู่ไกลเหมือนอยู่ใกล้” ภายในทีมงาน และครัวเรือน
18
“หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน”
บัญญัติ ๑๐ ประการ “หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน” ๖. แก้ปัญหาสุขภาพครัวเรือน “เป็นระบบและต่อเนื่อง” ทำงานร่วมกันทุกกลุ่ม “อย่างเป็นเครือข่าย” ๘. “ใช้ชุมชนเป็นฐาน” พัฒนาคน พัฒนางาน ๙. สืบสาน สร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม “ให้ชุมชน น่าอยู่” ๑๐. “ยกย่องเชิดชู” ผู้ทำความดี
20
นักสุขภาพครอบครัว การดูแลสุขภาพประชาชน(1: 1250คน) C:เด็ก A:ตั้งครรภ์
3 C:เด็ก A:ตั้งครรภ์ D:พิการ O:ผู้สูงอายุ N:โรคเรื้อรัง
21
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
DM HT ผู้สูงอายุ เด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ พิการ 5
22
นสค. รพ.สต. ประชาชน ผู้อุ้ม (เจ้าภาพ)
ทุ่มเทสุด ๆ กองหนุนใจใหญ่ กล้าคิด/ตัดสินใจ/รับผิดชอบ ทีมงานเข้มแข็ง ประสาน อปท. จริงใจ ที่พักพิงอบอุ่น องค์กรมีศักดิ์ศรี มีส่วนร่วม พึ่งตนเอง ผู้กำกับ (Coach) สสอ.(รวมคน รวมเงิน รวมงาน) นับญาติ ประสาน นสค. ประชาชน รพ.สต. เวชศาสตร์ ชุมชน รพ. ผู้อุ้ม (เจ้าภาพ) รพช./ท./ศ. เจ้าภาพ ครบคน ครบเรื่องป่วย ครบเวลา เติมคน (1 : 1,250) เติมสมอง (5 ทักษะ) เติมใจ (มั่นคง) เติม 3 ตัวช่วย (สะดวก) เติมงบประมาณ ผู้สนับสนุน อย่างเป็นทางการ นพ.สสจ. รพท./ศ. กรม /สป. สปสช. อปท. ทักษะ รางวัล เวทีเรียนรู้ ฐานปฏิบัติเข้มแข็ง บรรยากาศน่าอยู่ (กาย, ใจ) IT “ร่วมด้วย ช่วยกัน พลิกผันข้อจำกัด”
23
ระดับจังหวัด ผู้นิเทศงานระบบริการปฐมภูมิ แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ฯลฯ
ใครคือผู้ขับเคลื่อน คณะกรรมการพัฒนารพสต./ศสม. ระดับจังหวัด ผู้นิเทศงานระบบริการปฐมภูมิ แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ฯลฯ
24
เป้าหมายการขับเคลื่อน
คนเพียงพอ มีทักษะ ข้อมูล เพียงพอ ครบถ้วน เชื่อมโยง วิชาการ เพียงพอ เหมาะสม ตรง สิ่งสนับสนุน เงิน อุปกรณ์ ยานพาหนะ มีขวัญกำลังใจ
25
สนับสนุน/ขับเคลื่อนอย่างไร
พัฒนาฐานข้อมูล (DATA CENTER) จัดทำข้อเสนอเชิงการจัดการ สนับสนุนวิชาการ พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ สร้างขวัญกำลังใจ
26
ตัวชี้วัด รพ.สต.คุณภาพ/ศสม.
1 ๑) มีระบบข้อมูลผู้ป่วยเชื่อมโยง รพ.สต./ศสม และโรงพยาบาลแม่ข่ายได้ ๒) อัตราส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอก เทียบกับ รพ.สต./ศสม.กับแม่ข่าย มากกว่า 60:40 ๓) บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พื้นฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น การให้ ภูมิคุ้มกันโรค, ดูแลหญิงตั้งครรภ์, การตรวจมะเร็งปากมดลูก, คัดกรองโรคเรื้อรัง 26 26
27
ตัวชี้วัด รพ.สต.คุณภาพ/ศสม.(ต่อ)
1 ๔) ร้อยละของประชากรในทะเบียนกลุ่มที่ต้อง ดูแลพิเศษ เช่น ผู้ป่วยต้องดูแลพิเศษ มะเร็ง โรคเอดส์ จิตเวช วัณโรค ผู้พิการ ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านตามมาตรฐานบริการ (ร้อยละ 80) ๕) บริการตรวจวินิจฉัยห้องปฏิบัติการสำหรับโรคเบื้องต้น/โรคเรื้อรังและมีระบบส่งต่อสิ่งส่งตรวจไปยังโรงพยาบาลแม่ข่าย 27 27
28
ตัวชี้วัด รพ.สต.คุณภาพ/ศสม.(ต่อ)
1 ๖) ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดัน/กลุ่มเสี่ยง ได้รับการดูแล ๖.๑ ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมี การลงทะเบียนที่รพ.สต./ศสม.เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10) ๖.๒ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต สูงในรพ.แม่ข่าย ส่งกลับดูแลที่รพ.สต./ศสม.เพิ่มขึ้น ๖.๓ ประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดัน โลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้แบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ เป็นเครื่องมือ และมีอสม.เป็นพี่เลี้ยง (ร้อยละ 60) 28 28
29
สวัสดีครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.