ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการทำงานวิจัยจากงานประจำ
เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ
2
การเลือกเรื่องที่จะทำงานวิจัย
1.เมื่อมีปัญหา 2.มีข้อสงสัย 3.อยากรู้/อยากเห็น/อยากทราบ 4.เจ้านายสั่ง
3
การเลือกเรื่องที่จะทำงานวิจัย
1.งานในหน้าที่ 2.งานที่ตนมีความชำนาญเชี่ยวชาญ 3.เป็นเรื่องที่ตนสนใจ 4.เรื่องที่หาข้อมูลได้สะดวก ทันสมัย 5. ประโยชน์ หน้าที่ หน่วยงาน สถาบัน 6.ขอบเขตไม่กว้าง แคบจนเกินไป 7.เวลา ต้องมั่นใจว่ามีเวลาพอ
4
การเลือกเรื่องทำงานวิจัยจากงานประจำ
1.รายงานประจำปี 2. รายงานการประชุม 3. ข้อร้องเรียน 4. การประชุมสัมมนา การระดมสมอง 5. ผลตรวจประกันคุณภาพ
5
ลักษณะงานของสายสนับสนุนวิชาการ
ด้านปฏิบัติการ-เอกสาร-เครื่องใช้สำนักงาน/ห้องทดลอง ด้านบริการ-คน-สิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการประสานงาน-คน ด้านการวางแผน-วางแผน-ร่วมว่างแผน –ปฏิบัติตามแผน ด้านการเงินและพัสดุ ด้านกิจการนักศึกษา-นิสิตนักศึกษา
6
ลักษณะงานของสายสนับสนุนวิชาการ
เกี่ยวกับบุคลากร เกี่ยวกับนิสิตนักศึกษา เกี่ยวกับอาคารสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เกี่ยวกับการเงินและพัสดุ เกี่ยวกับการเรียนด้านหลักสูตร เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่างๆ เกี่ยวกับเครื่องมือ อุปกรณ์ในการทดลอง ประดิษฐ์ เกี่ยวกับการบริหารงาน
7
ต.วิชีพเฉพาะ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักกายภาพบำบัด ทันตแพทย์ พยาบาล แพทย์ สัตวแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ เภสัชกร นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย วิศวกรเครื่องกล วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรโยธา วิศวกรโลหการ วิศวกรการเกษตร วิศวกรเคมี สถาปนิก
8
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ ตามทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข.และ สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ
9
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 3.การศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการกำหนดตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา
10
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน: 1
เกิดจากพบปัญหา 1.กระบวนการพิจารณาล่าช้า 2.มีข้อขัดแย้งระหว่างผู้อ่านและผู้เสนอ 3.แบบประเมินผลงานต่าง ๆไม่เป็นระบบเดียวกัน
11
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 4.ไม่มีการศึกษาทัศนะของข้าราชการอย่างจริงจังว่าหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการที่ยึดถือปฏิบัติมีความเหมาะสมหรือไม่ 5. มศว กระจายอยู่ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ตำแหน่งทางการบริหาร ประสบการณ์ และตำแหน่งทางวิชาการต่างกัน
12
*เอาปัญหาที่พบมากำหนดเป็นเรื่องวิจัย*
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 *เอาปัญหาที่พบมากำหนดเป็นเรื่องวิจัย* หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ ตามทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
13
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ตั้งจุดมุ่งหมาย –มีผู้เกี่ยวข้อง -ผู้บริหาร-คณาจารย์ เพื่อศึกษาทัศนของผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินงานทางวิชาการ ใน มศว เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว
14
ผู้เกี่ยวข้อง วิทยาเขตส่วนกลาง/ภูมิภาค
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง วิทยาเขตส่วนกลาง/ภูมิภาค 3.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้สังกัดวิทยาเขตส่วนกลางและวิทยาเขตส่วนภูมิภาคที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว
15
ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์การทำงาน
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์การทำงาน 4.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานที่ต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว
16
ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่งทางวิชาการ
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่งทางวิชาการ 5.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีตำแหน่งทางวิชาการต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว
17
ผู้เกี่ยวข้อง วุฒิการศึกษา
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง วุฒิการศึกษา 6.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว
18
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ตัวแปรอิสระ 1.ตำแหน่ง 1.1 ผู้บริหาร 1.2 คณาจารย์
2.ประสบการณ์การทำงาน 2.1 ตั้งแต่ 1 ปี – 10 ปี 2.2 มากกว่า 10 ปีขึ้นไป
19
ตัวแปรอิสระ 3.วิทยาเขต 3.1 วิทยาเขตส่วนกลาง 3.2 วิทยาเขตส่วนภูมิภาค 4. วุฒิการศึกษา 4.1 ปริญญาตรี 4.2 ปริญญาโท 4.3 ปริญญาเอก
20
ทัศนะที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ
ตัวแปรอิสระ 5.ตำแหน่งทางวิชาการ 5.1 อาจารย์ 5.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 5.3 รองศาสตราจารย์ 5.4 ศาสตราจารย์ ตัวแปรตาม ทัศนะที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ
21
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการของทบวงมหาวิทยาลัย 2.การประเมินผลงานทางวิชาการในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ (มหิดล-เกษตร-ธรรมศาสตร์-รามคำแหง) 3.การประเมินเพื่อเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการในต่างประเทศ (อินเดีย-อเมริกา-อังกฤษ)
22
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.การประเมินผลงานทางวิชาการในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5.สิ่งที่ควรคำนึงในการประเมินผล 6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
23
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
1.แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2.แบบสอบถามแบ่งเป็นสองด้าน คือด้านหลักเกณฑ์ และด้านวิธีการประเมิน 3.ใช้ ค่าเฉลี่ย t-test และ F-test
24
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
แบบสอบถามออกแบบดังนี้ ด้านหลักเกณฑ์ จำนวน 30 ข้อ ด้านวิธีการประเมิน จำนวน 75 ข้อ ปลายเปิดให้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข หากเห็นว่ามีปัญหา (หาค่าความถี่)
25
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
4.เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์รายข้อ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ เห็นด้วย เห็นด้วยอย่างยิ่ง
26
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
5.เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์รายด้าน เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วยน้อย
27
วิธีการเปรียบเทียบ 1.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ t-test 2.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่สังกัดวิทยาเขนส่วนกลาง และวิทยาเขตภูมิภาคที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการ ใช้ t-test
28
วิธีการเปรียบเทียบ 3.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ t-test 4.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการ ใช้ F-test
29
วิธีการเปรียบเทียบ 5.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ F-test และq-statistic ตรวจสอบความแตกต่าง
30
ตัวอย่างการออกแบบตาราง
รายด้าน ผู้บริหาร คณาจารย์ X S หลักเกณฑ์การประเมินผลงานทางวิชาการ วิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ 3.65 3.76 1.03 0.95 3.60 3.72 1.20 1.10 ค่าคะแนนเฉลี่ยรวม
31
ตัวอย่างการออกแบบตาราง ทัศนะของการประเมินผลงานทางวิชาการ
N X S t ด้านหลักเกณฑ์การประเมิน ผู้บริหาร คณาจารย์ ด้านวิธีการประเมิน 128 270 109.57 107.94 285.07 282.67 10.26 13.75 21.70 27.96 1.1983 0.8571
32
ตัวอย่างการออกแบบตาราง
แหล่งความแปรปรวน df SS MS F ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม 2 267 751.25 6.4346* รวม 269
33
ตัวอย่างการออกแบบตาราง
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก X 274.93 281.90 297.55 297.53 - 6.97 22.60* 15.63*
34
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2
ไม่ใช่มาจากปัญหา ก.ม.มีมติให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงแบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย โดยมีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยได้เอง ให้สอดคล้องกับภารกิจของมหาวิทยาลัย (ที่ ทม 0202/5212 ลงวันที่ 5 มีนาคม 2539)
35
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข.และ สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ
36
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2
ความมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาความเห็นต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข. และสาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ใน มศว 2.เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินข้าราชการสาย ข. และสาย ค.เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว
37
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2 ผู้เกี่ยวข้อง สาย ข /สาย ค
3.เพื่อกำหนดวิธีการประเมินข้าราชการสาย ข. และสาย ค.เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว 4.เพื่อสร้างแบบฟอร์มการประเมินข้าราชการสาย ข. สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว
38
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.ความหมายของการประเมิน 2.วัตถุประสงค์ของการประเมิน 3.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน 4.กระบวนการประเมิน 5.สิ่งที่ควรคำนึงในการประเมิน 6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
39
วิธีดำเนินการวิจัย 1.ใช้เทคนิคเดลฟาย ในการวิจัย
2.รอบที่หนึ่ง ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาสร้างแบบสอบถามโดยให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ในลักษณะเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นในการตอบแบบอิสระ และผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับข้าราชการใน มศว จำนวน 60 แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข
40
การสร้างแบบสอบถาม 1.แบบการประเมินผู้บังคับบัญชา และ ผู้ปฏิบัติงาน
2.สอบถาม ** สาย ข. สาย ค. **สังกัดกอง สังกัดสำนักงาน เลขา รร.สาธิต **วุฒิการศึกษา ต่ำว่าตรี-ป.ตรี-สูงกว่าตรี **ประสบการณ์ ต่ำกว่า 5 มากกว่า 5-10 มากกว่า มากกว่า 15 ปีขึ้นไป
41
วิธีดำเนินการวิจัย 2.รอบสอง นำแบบสอบถามที่ปรับปรุงใหม่แล้ว ไปสอบถามสาย ข. จำนวน 168 สาย ค.จำนวน 340 โดยให้เลือกตอบว่าเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบแสดงความเห็นอย่างอิสระ
42
วิธีดำเนินการวิจัย 3.รอบสามทำการสังเคราะห์ในรอบที่ สอง สร้างแบบสอบถามเป็นมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เหมาะสมอย่างยิ่ง เหมาะสมมาก เหมาะสมน้อย ไม่เหมาะสม แล้วนำแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 13 คน ตอบแบบสอบถาม ในรอบนี้ใช้การวิเคราะห์ ค่ามัธยฐาน 5 ระดับว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม แล้วหาค่าความสอดคล้องกันของคำตอบ
43
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
นำแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ เลือกค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกัน มากำหนดเป็นหลักเกณฑ์และกำหนดเป็นวิธีการประเมิน และสร้างแบบฟอร์มการประเมินข้าราชการสาย ข. สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
44
เกณฑ์ความเหมาะสม ค่ามัธยฐาน 5 เหมาะสมอย่างยิ่ง ค่ามัธยฐาน 4 เหมาะสมมาก
ค่ามัธยฐาน 3 เหมาะสมปานกลาง ค่ามัธยฐาน 2 เหมาะสมน้อย ค่ามัธยฐาน 1 ไม่เหมาะสม
45
เกณฑ์ความสอดคล้อง I.R 0.1-0.99 คำตอบมีความสอดคล้องสูงมาก
คำตอบมีความสอดคล้องสูงมาก คำตอบมีความสอดคล้องกันสูง คำตอบมีความสอดคล้องกันต่ำ 3.00ขึ้นไป คำตอบไม่มีความสอดคล้องกัน
46
ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน 3ชำนาญการเชี่ยวชาญ
การกำหนดกรอบตำแหน่ง การนับเวลาการปฏิบัติงานเมื่อเปลี่ยนตำแหน่ง การได้รับเงินเดือนอยู่ก่อนวันเริ่มต้นปีงปม ไม่ได้กำหนดผลงานว่ามีลักษณะอย่างไร
47
ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน 3
5. การใช้วิชาชีพบริการสังคมไม่ได้ระบุชัดเจนว่าภายในหรือภายนอกอย่างไร 6. การไม่ได้กำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงแก้ไขผลงาน 7.ปัญหาการมาประชุมร่วมกันของผู้อ่านผลงาน 8.การไม่ได้กำหนดบทลงโทษและการอุทธรณ์
48
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 3.การศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการกำหนดตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา
49
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร-ข้าราชการ-พนักงาน
เพื่อศึกษาความเห็นของผู้บริหาร ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
50
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3
2.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นระหว่างผู้บริหาร กับข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
51
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ วุฒิการศึกษา
3.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีประสบการณ์ต่างกัน และวุฒิต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
52
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่ง
4.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ ที่มีระดับ และดำรงตำแหน่งต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
53
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3
5.เพื่อให้ได้หลักเกณฑ์และวิธีการกลางในการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
54
ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3
ตัวแปรอิสระ 1.ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง 1.1 อธิการบดี/รองอธิการบดี/คณบดี/ผอ.สำนัก/สถาบัน/ศูนย์หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 1.2 ผู้ช่วยอธิการบดี/รองคณบดี/รองผอ.สำนัก/สถาบัน/ศูนย์/หน.ภาค/หน.สาขาหรือตำแหน่งที่เทียบเท่า
55
1.3หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน/ศูนย์ /หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้างาน/หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 2.กรณีไม่ใช่ผู้บริหารตามข้อ 1 ปัจจุบันเป็น 2.1 ข้าราชการ 2.2 พนักงานมหาวิทยาลัย
56
3.ประสบการณ์การทำงาน 3.1น้อยกว่า 5 ปี 3.2 ตั้งแต่ 5 – 10 ปี 3.3 ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป – 15 ปี 3.4 มากว่า 15 ปี
57
4. วุฒิการศึกษาสูงสุดของท่าน
4.1 ต่ำกว่าอนุปริญญา 4.2 อนุปริญญา 4.3 ปริญญาตรี 4.4 ปริญญาโท 4.5 ปริญญาเอก
58
5.ท่านดำรงตำแหน่งระดับ(เฉพาะข้าราชการ)
5.1 ระดับ 4 5.2 ระดับ 5 5.3 ระดับ 6 5.4 ระดับ 7 ขึ้นไป
59
6.ท่านดำรงตำแหน่ง ชำนาญการ/เชี่ยวชาญ(เฉพาะข้าราชการ)
6.1 ผู้ชำนาญการระดับ 6 6.2 ผู้ชำนาญการระดับ 7-8 6.3 ผู้เชี่ยวชาญระดับ 9 6.4 ผู้ชำนาญการพิเศษระดับ 9 6.5 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษระดับ 10 6.6 ผู้ชำนาญการพิเศษระดับ 10
60
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.การกำหนดกรอบตำแหน่ง 2.คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 3.ผลงานทีแสดงความเป็นผู้ชำนาญการ 4.การเผยแพร่ผลงาน 5.การใช้วิชาชีพบริการต่อสังคมและความยอมรับนับถือในวงวิชาชีพ 6.วิธีการพิจารณาตัดสิน
61
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
7.ภาระงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 8.การลงโทษและการอุทธรณ์ 9.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
62
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
1.แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2.แบบสอบถามแบ่งเป็น 8 ด้าน 3.ใช้ ค่าเฉลี่ย t-test และ F-test
63
การสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งเป็น 8 ด้าน การกำหนดกรอบ 15 ข้อ
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 13 ข้อ ผลงาน 7 ข้อ การเผยแพร่ 8 ข้อ การใช้วิชาชีพบริการ 8 ข้อ วิธีการพิจารณาตัดสิน 10 ข้อ
64
การสร้างแบบสอบถาม ภาระงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 4 ข้อ
การลงโทษและการอุทธรณ์ 7 ข้อ
65
การวิเคราะห์ข้อมูล .เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ เห็นด้วย เห็นด้วยอย่างยิ่ง
66
การวิเคราะห์ข้อมูล 1.เปรียบเทียบความเห็นระหว่างผู้บริหาร ข้าราชการ และพนักงานที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา 2.เปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ และพนักงาน ที่มีประสบการณ์ต่างกัน และวุฒิต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา ใช้ F-test
67
การวิเคราะห์ข้อมูล 3.เปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ ที่มีระดับต่างกัน และตำแหน่งต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา ใช้ F-test
68
การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และอภิปรายผล ยกร่าง หลักเกณฑ์และวิธีการกลางในการพิจารณากำดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ใน 8 ด้าน ทำในนาม ปขมท และให้ทุกมหาวิทยาลัยนำไปวิเคราะห์ อภิปรายผล ของแต่ละมหาวิทยาลัยกันเองอีก คนละเล่ม
69
สวัสดี ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.