ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่องสารชีวโมเลกุล ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนแบบการทดลอง นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
2
ปัญหาในการวิจัย วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะ สารชีวโมเลกุลเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสารอาหารซึ่งมีความสำคัญต่อร่างกาย เพราะสารอาหารทำให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ พร้อมทั้งสารอาหารยังช่วยป้องกันและรักษาโรคได้ ถ้าร่างกายขาดสารอาหารเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วย ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 เรื่องสารชีวโมเลกุล ที่ได้รับการสอนแบบการทดลอง ทั้งนี้เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียน การสอนเพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องสารชีวโมเลกุลให้ได้สูงขึ้น
3
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 เรื่องสารชีวโมเลกุล ที่ได้รับการสอนแบบการทดลอง
4
สมมติฐานในการวิจัย นักเรียนที่ได้รับการสอนวิธีสอนแบบทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ประยุกต์เรื่องสารชีวโมเลกุลสูงกว่าก่อนเรียน
5
ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาการบัญชีจำนวน 3 ห้อง ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย จำนวน 124 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ห้อง BA01 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย จำนวน 1 ห้องมีนักเรียน 39 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
6
ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบการทดลอง
ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบการทดลอง ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสารชีวโมเลกุล
7
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสารชีวโมเลกุล 2. สารเคมีประกอบด้วย สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกต์ สารละลายคอปเปอร์(II) ซัลเฟต
8
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบการทดลอง เรื่อง สารชีวโมเลกุล ก่อนเรียน หลังเรียน t sig คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน -18.05 0.00 8.05 2.50 12.59 2.41
9
สรุปผลการวิจัย คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบการทดลองได้คะแนนเฉลี่ย คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.41 คะแนน มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนก่อนเรียน คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.50 คะแนนซึ่งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.