ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThawi Praves ได้เปลี่ยน 7 ปีที่แล้ว
1
วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101
วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย Basic Engineering for Occupational Health and Safety 19 กันยายน ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1, 2, 3, 13, 14
2
ภูมิมินทร์(นิพล) นามวงศ์
ภูมิมินทร์(นิพล) นามวงศ์ ปริญญาตรี รป.บ.(รัฐประศาสนศาสตร์) มสธ. รุ่นที่17 บธ.บ.(การจัดการทั่วไป) มสธ. รุ่นที่22 ป.อป.(อาชีวอนามัยฯ) มสธ. Cert. ส.บ. (อาชีวอนามัยฯ) มสธ. รุ่นที่27 ปริญญาโท รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันรัชต์ภาคย์ *เดิมชื่อ วิทยาลัยรัชต์ภาคย์
3
ประวัติการทำงาน บจก.เอเชีย อินเตอร์เนชั่นแนล
บจก.เวิร์คแมน คอร์ปอเรชั่น กลุ่ม ร.พ.เกษมราษฎร์(sub-contract) ร.พ.แม่น้ำ(ร.พ.ปากเกร็ดเวชการเดิม) อ.ปากเกร็ด บจก.ไซมีสไทร์(ธุรกิจผลิตยางรถต่างๆ) บจก.เคแอลเค อินดัสตรี(ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์) สถาบันรัชต์ภาคย์*(สถาบันอุดมศึกษา) ๒๕๕๐ –ปัจจุบัน *ชื่อเดิม วิทยาลัยรัชต์ภาคย์
4
หน่วยที่๑ พื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์และอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย ๑.วิศวกรรมศาสตร์ ? ๒.Engineering = ๓.Engineering ? ศาสตร์หรือวิชาเกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาหาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาความต้องการของมนุษย์ ๑-๕
5
ความเหมือนและความแตกต่าง
Engineer วิศวกร ประยุกต์ความรู้ในการออกแบบ พัฒนาอุปกรณ์ โครงสร้าง กระบวนการต่างๆ (มุ่งที่จะทำงาน) Scientist นักวิทยาศาสตร์ จะใช้ความรู้พื้นฐานดังกล่าวในการแสวงหาหรือค้นหาความรู้ใหม่ๆ (มุ่งแสวงหาความรู้) Scientist จะสำรวจว่าปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร Engineer จะสร้างสิ่งที่ยังไม่เคยมีมาก่อน ๑-๕
6
Engineer วิศวกร ต้องความรู้พื้นฐานทางด้าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
สิ่งที่เหมือนกัน Engineer วิศวกร ต้องความรู้พื้นฐานทางด้าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ Scientist นักวิทยาศาสตร์ ต้องมีความพื้นฐานทางด้าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ (เวกเตอร์, พีชคณิต, แคลคูลัส) วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์, เคมี)
7
ความสำคัญวิศวกรรมศาสตร์
คิดค้นพัฒนาแหล่งพลังงาน พัฒนาเครื่องจักรอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน เทคโนโลยีทางการเกษตร คิดค้นพัฒนาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร พัฒนาโครงสร้างสิ่งก่อสร้างที่ทนทานต่อภัยธรรมชาติ พัฒนาเทคโนโลยีในการควบคุมมลพิษทางด้านสิ่งแวดล้อม **มนุษย์อาศัยวิศวกรรมศาสตร์เป็นส่วนหนึ่งในการดำรงชีวิตและอยู่รอด ของเผ่าพันธุ์ พัฒนามาตรฐานการครองชีพของมนุษย์** ๑-๖
8
วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก ๕ สาขา (อธิบายรายละเอียดวิศวกรรมศาสตร์สาขาหลักได้)
วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมอุตสาหการ ๑-๗-๑๓
9
วิศวกรรมโยธา civil eng (เก่าแก่ที่สุด)
สิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น บ้าน อาคาร ถนน โรงงานอุตสาหกรรม สะพาน เขื่อน สนามบิน ท่าเรือ ฯลฯ นาย ก. เป็นเจ้าของบ้านไปหาชื่ออุปกรณ์มาทำที่อยู่ให้สุนัขนอนอย่างสบาย? (นักวิทยาศาสตร์, วิศวกร, วิศวกรรมโยธา) ๑-๗
10
วิศวกรรมเครื่องกล mechanical eng
เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลและกระบวนการทางเครื่องกล เช่น การผลิตและการเปลี่ยนรูปพลังงาน การเขียนแบบ กลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล การเปลี่ยนรูปพลังงาน อุณหพลศาสตร์ ถ่ายเทความร้อน การทำความเย็นการปรับอากาศ การเผาไหม้ การออกแบบเครื่องจักร ระบบควบคุม ฯลฯ ๑-๘
11
วิศวกรรมไฟฟ้า electrical eng
เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ วงจร และระบบไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า วิเคราะห์การทำงาน อิเล็กทรอนิคส์ สื่อสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ การออกแบบระบบต่างๆ การประยุกต์เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้าเพื่อใช้(อุตสาหรรม ธุรกิจ การแพทย์ การเกษตร) ฯลฯ ๑-๙
12
วิศวกรรมเคมี chemical eng
เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตต่างๆ ทางอุตสาหกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงส่วนผสม สถานะทางเคมี ลักษณะวัตถุดิบ การควบคุมปฏิกรณ์เคมีและกระบวนการต่างๆ การเดินหน่วยปฏิบัติการ การคำนวณดุลมวลและพลังงาน ตลอดจนเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ฯลฯ ๑-๑๐
13
วิศวกรรมอุตสาหการ industrial eng
เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวางแผน การควบคุม การผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมีต้นทุนต่ำ วัสดุวิศวกรรม กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวางผังโรงงาน วิศวกรรมความปลอดภัย วิศวกรรมซ่อมบำรุง เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม วิจัยและการดำเนินงาน ฯลฯ ๑-๑๑
14
วิศวกรรมเครื่องกล และ วิศวกรรมอุตสาหการ แตกต่างกันอย่างไร
ขอบข่ายการศึกษาเนื้อหาวิชา (หลักสูตร) ความยากง่ายของเนื้อหาวิชา ความต้องการของตลาดแรงงาน ความสามารถของคน * อัตราค่าตอบแทน การประกอบธุรกิจของบริษัทนั้นๆ วิศวกรรมเครื่องกล มุ่งที่จะศึกษา วิศวกรรมอุตสาหการ มุ่งที่จะศึกษา
15
วิศวกรรมศาสตร์ที่แตกแขนงจากวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโครงสร้าง(โครงสร้างเหล็ก ไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก) วิศวกรรมสำรวจ(ระบบฉายแผนที่ สำรวจงานระนาบ) วิศวกรรมปฐพี(ดิน หิน แร่) วิศวกรรมการขนส่ง วิศวกรรมการบริหารการก่อสร้าง วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ วิศวกรรมชลประทาน**(เขื่อน ฝาย ) (ระบบสูบน้ำ) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม** ระบบการประปา? (ระบบสูบน้ำ) ๑-๑๓-๑๔
16
วิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่นๆ
วิศวกรรมการเกษตร วิศวกรรมอากาศยาน วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟแวร์ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส์ วิศวกรรมอาหาร วิศวกรรมการผลิตอุตสาหกรรม วิศวกรรมความปลอดภัย วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมเหมืองแร่ ๑-๑๔-๑๕
17
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเหมืองแร่* วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเคมี* วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ ๑-๑๖ ๑-๑๓
18
ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแบ่งเป็น 4 ระดับ
ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแบ่งเป็น 4 ระดับ ภาคีวิศวกร ภาคีวิศวกรพิเศษ สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร ๑-๑๖
19
Occupational Health and Safety (ความหมาย)
ศาสตร์หรือระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพการงานให้มีสภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจและสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ด้วยดี รวมทั้งดูแลให้ผู้ประกอบอาชีพการงานให้มีความปลอดภัยปราศจากภัยคุกคาม อันตราย บาดเจ็บ สูญเสีย รวมถึงความเสี่ยงต่างๆ องค์การอนามัยโลก (WHO) Health ว่าสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกาย(physical health) ทางจิตใจ(mental health) และสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ด้วยดี(social well-being) ๑-๑๘
20
ความสำคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความสำคัญต่อฝ่ายลูกจ้าง ความสำคัญต่อฝ่ายนายจ้าง ความสำคัญต่อภาครัฐ ๑-๑๙
21
พนักงานประสบอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน
ขาดรายได้, ครอบครัว (ลูกจ้าง) ยอดการผลิตลดลง ค่าสวัสดิการ จ้างคนมาแทน (นายจ้าง) สูญเสียค่าพื้นฟู/ค่ายา (ภาครัฐ)
22
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สุขศาสตร์อุตสาหกรรม/อาชีวสุขศาสตร์ (Industrial Hygiene or Occupational Hygiene) อาชีวนิรภัย(Occupational Safety) การยศาสตร์/จิตวิทยาในการทำงาน (Ergonomics and Work Psychology) อาชีวเวชศาสตร์/เวชศาสตร์อุตสาหกรรม(Occupational Medicine or Industrial Medicine) ๑-๒๑-๒๒-๒๓
23
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สุขศาสตร์อุตสาหกรรม/อาชีวสุขศาสตร์ (ตระหนัก ประเมิน ควบคุม ฝุ่น แสง เสียง) อาชีวนิรภัย (ป้องกันอุบัติเหตุ) การยศาสตร์/จิตวิทยาในการทำงาน (สรีรวิทยา ร่างกาย ) อาชีวเวชศาสตร์/เวชศาสตร์อุตสาหกรรม (แพทย์ พยาบาล ตรวจวินิจฉัย) ๑-๒๒-๒๓
24
ความจำเป็นวิศวกรรมศาสตร์ในการศึกษาอาชีวอนามัยฯ
♠ การนำความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ฯ 1. พื้นฐานการศึกษาศาสตร์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. วิเคราะห์ประยุกต์ใช้ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ♠♠ ประโยชน์ในการประสานงานกับวิศวกรสาขาต่างๆ 1.พิจารณาปรึกษาวิศวกรสาขาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 2.สื่อสารกับวิศวกรสาขาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑-๒๖-๒๗
25
มิติ(dimension) ๒ ประเภท
มิติพื้นฐาน(fundamental dimensions) คือกลุ่มมิติที่ง่ายในการแปลง หรือกล่าวได้ว่าเป็นมิติที่มีหน่วยเดี่ยวๆ ได้แก่ ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ปริมาณสาร ความเข้มแสง มิติอนุพันธ์(derived dimensions) คือมิติที่เกิดจากมิติพื้นฐานรวมกัน ตำราบางเล่มจึงเรียกว่ามิติประกอบ ได้แก่ พื้นที่ ปริมาตร ความเร็ว ความเร่ง ความหนาแน่นมวล แรง พลังงาน ๑-๓๒-๓๓
26
? ? ตัวอุปสรรค (prefix) ๑-๓๘ เอซะ E 1018 เพตะ P 1015 เทรา T 1012
จิกะ G เมกะ M กิโล k เฮกโต h เดกะ da =10 เดชิ d เซนติ c มิลลิ m ? ? ๑-๓๘
27
หน่วยที่ ๒ แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา
หน่วยที่ ๒ แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา แบบก่อสร้าง (construction drawing) รูปภาพแสดงขนาด รูปร่างและรายละเอียดขององค์อาคาร โดยมีการกำหนดค่าระดับและมิติที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อให้ผู้อ่านแบบมีความเข้าใจในรายละเอียดขององค์อาคาร และสามารถก่อสร้างได้ตรงตามรายละเอียดที่สถาปนิกและวิศวกร ได้ออกแบบไว้ ๒-๕
28
ที่มาและความจำเป็นของแบบก่อสร้าง
การออกแบบ ขออนุญาตปลูกสร้างและดัดแปลงอาคาร การเสนอราคาและประมูลงาน การทำสัญญาว่าจ้าง การก่อสร้างและการตรวจรับงาน ขั้นตอนการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคาร* ขั้นตอนการบำรุงรักษาอาคาร ในกรณีฉุกเฉิน ๒-๕,๖,๗
29
ประเภทของแบบก่อสร้าง ๓ ประเภท
1.แบบสถาปัตยกรรม(architectural drawing) แสดงรูปลักษณ์ ขนาด ตำแหน่ง รูปทรง และรายละเอียดต่างๆ ของอาคาร แบบสถาปัตยกรรมเป็นหัวใจสำคัญของโครงการก่อสร้างทุกประเภท (สถาปนิก) 2.แบบโครงสร้าง(structural drawing) หรือบางครั้งเรียกว่า แบบวิศวกร แสดงรายละเอียดโครงสร้างอาคารที่ได้ รับการออกแบบโดยวิศวกร แบบโดยทั่วไปจะแสดง ฐานราก เสา คาน พื้น บันได หลังคาฯลฯ (วิศวกร) ๒-๘,๑๖
30
แบบสถาปัตยกรรมจะแสดงรายละเอียด
แบบรูปด้านหน้า(front view) แบบรูปด้านหลัง(back view) แบบรูปด้านข้าง(side view) แบบรูปด้านบน(top view) รูปแบบแปลนหรือผังพื้น แบบรูปตัด(section view) แบบขยาย ผังที่ตั้งโครงการและผังบริเวณ ๒-๙-๑๓
31
แบบโครงสร้างจะแสดงรายละเอียด (ดูหน้า๒-๑๖,๑๗)
3.แบบงานระบบ (system drawing) แสดงระบบต่างๆ ที่ติดตั้งในอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องกล ระบบปรับอากาศ ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบสุขาภิบาลฯลฯ (ดู๒-๑๘) ๒-๑๘
32
แบบสถาปัตยกรรม ลักษณะการออกข้อสอบในหน่วยนี้จะให้รูปมาแล้วตอบ (ให้ฝึกดูรูปว่าเป็น ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง หรือด้านบน) (หน่วยที่ 2 หน้า 9-10) ๒-๙-๑๓
33
สถาบันรัชต์ภาคย์
35
แบบสถาปัตยกรรมภายนอก
แบบสถาปัตยกรรมภายใน
36
มาตราส่วน(scale) อธิบายรายละเอียด
กรณีที่ผู้เขียนแบบต้องการเขียนภาพขยายขนาด อาทิ การใช้มาตราส่วน 2 : 1 ในกรณีเขียนภาพขยายขนาดเป็นสองเท่าของขนาดจริงเพื่อเพิ่มความชัดเจน ๒-๒๕
37
แบบรูปด้าน แบบแปลน แบบรูปตัด ประเทศไทยส่วนใหญ่นิยมเขียนด้วยมาตราส่วน?
ประเทศไทยนิยมใช้มาตราส่วน 1 : 100 แบบขยายเขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 20 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของรูปและความเหมาะสมของรายละเอียดที่ต้องการนำเสนอ จากแบบก่อสร้าง 2, 3, 5 เซนติเมตร ระยะจริง? กำหนดให้ มาตราส่วน 1 : 100 ๒-๒๕
38
สัญลักษณ์ ๓ ประเภทใหญ่ๆ
สัญลักษณ์(symbol) คือองค์ประกอบของรูป เส้น และตัวหนังสือที่ใช้อธิบายรายละเอียดใบแบบก่อสร้าง ๑. สัญลักษณ์อ้างอิง(reference symbol) ๒. สัญลักษณ์ของวัสดุ(material symbol) กรวด คอนกรีต ทราย ก่ออิฐ ๓. สัญลักษณ์วัตถุ(object symbol) วาล์ว มาตรวัดน้ำ ช่องอากาศ สวิตซ์ โคมไฟ หัวฉีดดับเพลิง แผงควบคุม ☺ให้นักศึกษาฝึกดูรูปในหน่วยนี้☺ ๒-๒๖-๒๗
39
ความแตกต่างวัสดุและวัตถุ
วัสดุ(material symbol) ใช้ในการแสดงประเภทของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง วัตถุ(object symbol) ใช้ในการแสดงประเภท ตำแหน่งและจำนวนของวัตถุที่จะติดตั้งภายในอาคาร ๒-๓๐
40
เส้น (line) 3 ประเภท (ให้ดูรูป ๒-๓๑)
เส้นหนามาก นิยมใช้การเขียนเส้นรอบรูป ขอบเขตของพื้นที่ หรือกรณีที่ต้องการเน้นความสำคัญขององค์ประกอบ เส้นหนา นิยมใช้ในการเขียนรายละเอียดทั่วไปภายในอาคาร เส้นบาง นิยมใช้ในการเขียนบอกขนาด เขียนเส้นฉาย และการเขียนเส้นลงเงา ๒-๓๐,๓๒
41
การกำหนดขนาด หรือ มิติ
การกำหนดขนาด หรือ มิติ เส้นฉาย เป็นเส้นที่ลากออกจากวัตถุเป็นแนวเส้นตรงมายังเส้นมิติ ๒-๓๑ เส้นมิติ เป็นเส้นที่ใช้กำหนดความยาวของวัตถุในแต่ ละช่วง ๒-๓๓ ตัวเลขบอกขนาด เป็นตัวเลขที่บอกระยะจริงที่เขียนกำกับไว้บนเส้นมิติเพื่อความชัดเจนและความสะดวก ในการอ่านแบบ ๒-๓๑
42
กระดาษเขียนแบบ(ใหญ่สุด/เล็กสุด)
A0 A1 A2 A3 A4 1,189x841 841x594 594x420 420x297 297x210 การเลือกกระดาษขึ้นอยู่กับขนาดอาคารที่ได้รับการออกแบบและมาตราส่วนที่ใช้ในการเขียนแบบ ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ อ่านได้ชัดเจน ๒-๓๖
43
หน้าที่ของเหล็กเส้นในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
ช่วยต้านทานแรงดึง ช่วยต้านทานแรงอัด ช่วยต้านทานแรงเฉือน ช่วยป้องกันการแตกร้าวของคอนกรีต ๒-๓๙-๔๐
44
ชนิดของเหล็กเส้น ๒ แบบ เหล็กเส้นกลม (round bar) RB
เหล็กเส้นข้ออ้อย (deformed bar) DB RB25? DB25? เหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๒ มิลลิเมตร? เหล็กเส้นข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓๔ มิลลิเมตร? ๒-๔๐,๔๑
45
เหล็กเส้นที่มีชั้นคุณภาพ SR24, SD30
ป RB ม. (กลม) ป DB ม. (ข้ออ้อย) เหล็กเส้นที่มีชั้นคุณภาพ SR24, SD30 SR 24 เหล็กเส้นกลมที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ ๒,๔๐๐ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร SD 30 เหล็กข้ออ้อยที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ ๓,๐๐๐ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ๒-๔๗
46
3DB16MM 3DB16MM round bar(กลม) & deformed bar(ข้ออ้อย) 46
47
ข้อพึงระวังในการอ่านแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ (๒)
รูปหน้าตัด ขนาดและชั้นคุณภาพเหล็กรูปพรรณที่ใช้ ตำแหน่งและทิศทางการวางเหล็กรูปพรรณ การอ่านแบบรูปบันไดเหล็กรูปพรรณ (ให้ดูรูป p 2-59) ๒-๔๘-๕๓
48
ข้อพึงระวังในการอ่านแบบโครงสร้างไม้ (๓)
ขนาดและชนิดของไม้ที่ใช้ ตำแหน่งและทิศทางการวางไม้ รอยต่อระหว่างชิ้นส่วนของไม้ อุปกรณ์ที่นิยมใช้ ๔ ชนิด ตะปู ตะปูควง สลักเกลียว ตะปูเกลียว ๒-๖๑,๖๒,๖๓
49
หน่วยที่ ๓ วิศวกรรมโครงสร้างงานอาคาร
หน่วยที่ ๓ วิศวกรรมโครงสร้างงานอาคาร หลังคา แป รับน้ำหนักจากหลังคา จันทัน รับน้ำหนักจาก แป จันทันมี ๒ ประเภท 1.จันทันเอกที่วางตามแนวเสา 2.จันทันพรางที่วางไม่ตรงแนวเสา อกไก่ รับน้ำหนักจากจันทันเอกและจันทันพราง ดั้ง รับน้ำหนักจากอกไก่ที่อยู่ตามแนวจันทันเอกและส่งผลให้ หลังคามีทรงสูงขึ้นหรือแบนราบ อะเส รับน้ำหนักจากจันทันเอกและจันทันพราง ยึดหัวเสาไห้มั่นคง ขื่อ รับน้ำหนักจากดั้งและยึดหัวเสาให้มั่นคง เชิงชาย ปิดซ้ายโครงหลังคาให้ดูสวยงามและป้องกันนกเข้าไปทำรัง ในหลังคา ๓-๙,๑๐,๑๑
50
จันทัน (จันทันเอกและจันทันพราง)
การถ่ายน้ำหนัก น้ำหนักหลังคา แป จันทัน (จันทันเอกและจันทันพราง) อกไก่ อะเส ดั้ง ขื่อ ๓-๘ เสา
51
ประเภทของโครงหลังคา(type of roof structure) มี ๒ ประเภท
โครงหลังคาไม้ โครงหลังคาเหล็ก โครงหลังคาไม้ นิยมใช้ไม้เนื้อแข็ง ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้มะค่า โครงหลังคาเหล็ก เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน ๓-๙
52
ส่วนประกอบโครงสร้างหลังคาเหล็ก ๖ ประเภท ๓-๑๑
แผ่นวัสดุมุงหลังคา(sheet) แปเหล็ก(purlins) เหล็กยึดแป(sag rods) คานโครงเหล็กยึดโครงหลังคาเหล็ก เหล็กยึดทแยงโครงหลังคาเหล็ก โครงเหล็ก(steel truss) ๓-๑๐,๑๑
53
โครงสร้างคานแบ่งเป็น ๓ ประเภท
คานไม้ (timber beam) ไม้เนื้อเข็ง (ไม้แดง ไม้สัก) คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (reinforced beam) คานเหล็ก (steel beam)(เป็นที่นิยมมากเพราะก่อสร้างได้ยาวกว่า รูปร่างบาง เพรียว ไม่ใหญ่เทอะทะ รับแรงอัดแรงดึงได้ดี) จุดด้อยทนความร้อนสูง ๆ ไม่ได้ รวมทั้งมักจะมีจุดออ่นบริเวณจุดต่อของคาน ๓-๑๓,๑๔
54
ลักษณะของคานในอาคาร คานช่วงเดี่ยว (simple beam)
คานต่อเนื่อง (continuous beam) คานยื่น (cantilever beam) ๓-๑๕
55
ประเภทของเสา (column)
เสาไม้ (timber column) เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (reinforce concrete column) เสาเหล็ก (steel column) (เป็นที่นิยม) เสาเหล็กผสมคอนกรีต พื้นมี ๒ ประเภท คือ พื้นไม้ และ พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓-๑๖,๑๗
56
แรงกระทำบนพื้น น้ำหนักบรรทุกคงที่(dead load) เป็นน้ำหนักของพื้นทั้งหมด เช่น ตู้เย็นขนาดใหญ่ สุขภัณฑ์ เครื่องกลึง น้ำหนักบรรทุกจร(live load) คือน้ำหนักบรรทุกที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและตำแหน่ง เช่น รถบรรทุก คน เครน ๓-๒๑
57
ประเภทของฐานรากตามลักษณะของการบรรทุกน้ำหนัก
ฐานรากต่อเนื่องรับกำแพง(wall footing)ถ่ายเทน้ำหนักลงตามพนังหรือกำแพงเป็นทางยาว ฐานรากเดี่ยว(single footing) รับน้ำหนักเป็นจุดๆ โดยเสาต้นหนึ่งต่อฐานรากหนึ่งฐาน นิยมใช้กับอาคารขนาดเล็ก เช่น บ้านพักอาศัย* ฐานรากร่วม(combined footing) รับน้ำหนักจากเสาหลายๆ ต้นซึ่งมีตำแหน่งเสาอยู่ใกล้ๆ กัน ๓-๒๘,๒๙
58
ประเภทของฐานรากตามลักษณะของการบรรทุกน้ำหนัก(ต่อ)
ฐานรากแพ (raft footing) แผ่กระจากบนพื้นที่ก่อสร้างเป็นบริเวณกว้าง หรือบางที่กระจายเต็มพื้นที่อาคาร(อาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง)* ฐานตีนเป็ด(strap footing) บริเวณก่อสร้างที่มีเขตที่ดินติดกับคนอื่น ๓-๒๘,๒๙
59
เสาเข็ม เสาเข็มไม้ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก(รับน้ำหนักไม่มากขนส่งเข้าพื้นที่ก่อสร้างได้) เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (รับน้ำหนักมาก ได้รับความนิยมมาก) เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงแบบกลม(ทรงกลมกลวง รับน้ำหนักมากๆ ก่อสร้างขนาดใหญ่) ๓-๓๐,๓๑
60
เสาเข็ม(ต่อ) เสาเข็มเหล็ก(steel pile)หรือ เข็มพืด(sheet pile) ป้องกันดินพังทลายขณะทำงานก่อสร้าง เสาเข็มเจาะ(bored pile) ไม่สามารถตอกเสาเข็มได้เพราะจะเกิดการสั่นสะเทือนรบกวนอาคารอื่น *ข้อควรระวังในการขุดหลุมลึกมากๆ ต้องทำการตอกแผ่นเหล็กหรือ เข็มพืดไว้เพื่อป้องกันดินพังทลายลงมาในบริเวณที่ทำงานก้นหลุม ๓-๓๐,๓๑
61
หน่วยที่ ๑๓ พื้นฐานวิศวกรรมอุตสาหการ
โรงงาน หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ ที่ใช้เครื่องจักรกล ที่มีกำลังรวมตั้งแต่ ๕ แรงม้า หรือกำลังเทียบเท่า ๕ แรงม้าขึ้นไปหรือคนงานตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไป โรงงาน หมายถึง อาคารสถานที่ที่นำเอาปัจจัยการผลิต(input) ซึ่งอาจรวมถึงวัตถุดิบ พลังงาน ทรัพยากรน้ำ คน เครื่องจักร อุปกรณ์ นำไปแปรรูปเกิดผลผลิต ๑๓-๕
62
วิศวกรรมอุสาหการ (industrial eng) เป็นสาขาหนึ่งของงานด้านวิศวกรรม
การเพิ่มผลิตภาพ (productivity) ความสามารถในการใช้ปัจจัยการผลิตให้คุ้มค่า ผลผลิตสูงสุด ผลผลิต (output) PQCDSE ผลิตภาพ = = ปัจจัยการผลิต(input) 4 M C หมายถึงอะไร ? ปริมาณ, คุณภาพ, ต้นทุน, การส่งมอบ, ความปลอดภัย, สิ่งแวดล้อม แรงงาน(คน)(man), เครื่องจักร(machine), วัตถุดิบ(material), การจัดการ(management) ๑๓-๖,๗
63
การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน(๘)
แหล่งวัตถุดิบ ตลาด แรงงานและค่าจ้าง สาธารณูปโภค การจราจรขนส่ง สิ่งแวดล้อม กรรมสิทธิ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวทางประเมินคัดเลือกทำเล ที่ตั้งมี ๒ วิธี ๑.วิธีการให้คะแนน ๒.วิธีเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย ๑๓-๘,๙
64
การวางผังโรงงาน การวางผังโรงงานตามชนิดผลิตภัณฑ์
การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต การวางผังโรงงานตามตำแหน่งงานคงที่(เครื่องบิน ต่อเรือ สะพาน) การวางผังโรงงานแบบผสม ๑๓-๑๒,๑๓,๑๔
65
สัญลักษณ์ในแผนภูมิการไหล
ทำงาน/ผลิต ขนส่ง/เคลื่อนย้าย ตรวจ/ตรวจสอบ รอคอย/เกิดเหตุขัดข้อง เก็บ การป้อนวัสดุเข้าสู่กระบวนการ ลำดับขั้นตอนกระบวนการผลิต ๑๓-๑๔
66
รูปแบบในการไหลของวัสดุมี ๔ แบบ
การไหลแบบเส้นตรง ง่ายๆ พื้นที่โรงงานกว้างพอ ตัว s กระบวนการผลิตยาวมาก พื้นที่โรงงานสั้น เข้า-ออก วัสดุคนละทาง ตัว U กระบวนการผลิตยาวมาก พื้นที่โรงงานสัน เข้า-ออก วัสดุทางเดียวกัน วงกลม O กระบวนการผลิตยาวมาก พื้นที่โรงงานสี่เหลี่ยมจัตุรัส วัสดุและสิ้นค้าเข้า-ออก จุดเดียวกัน ๑๓-๑๕,๑๖,๑๗
67
การพยากรณ์สามารถแบ่งประเภทได้
◘ ตามช่วงเวลา(ระยะสั้น, ปานกลาง, และระยะยาว ◘ ตามวิธีการพยากรณ์ ►พยากรณ์เชิงคุณภาพ(ความรู้สึก,ประสบการณ์) ►พยากรณ์เชิงปริมาณ (สถิติ, การวิจัย) ◘ การพยากรณ์อย่างง่าย ๑๓-๒๑
68
ปัจจัยสำคัญในการพิจารณาจัดลำดับความสำคัญในการวิเคราะห์งาน
ความเร่งด่วน ต้นทุนการผลิตสูง ความต้องการความชำนาญสูง ความเสี่ยงสูง ๑๓-๔๐
69
การศึกษาเวลา(time study)
อุปกรณ์ในการศึกษาเวลา แบบฟอร์มบันทึกและวิเคราะห์เวลา เครื่องถ่ายภาพยนตร์หรือกล้องวีดีทัศน์ การกำหนดค่าเฉลี่ยของเวลาทำงาน (ค่าที่ใช้ค่าเฉลี่ย mean, X) หรือฐานนิยม (mode) ๑๓-๔๔,๔๕
70
กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QCC (quality control circle)
QCC เป็นกลุ่มเล็ก ๓-๕ คน มีหัวหน้ากลุ่ม (leader) วัตถุประสงค์ค้นหาปัญหาการเกิดของเสีย ปัญหาไม่ได้คุณภาพ พร้อมแนวทางป้องกันแก้ไข ป้องกันต่อไป แผนภูมิก้างปลา(fish-bone diagram)เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุต่างๆ ที่มีผลต่อแต่ละปัญหาอาจเกิดจาก วัตถุดิบ เครื่องจักร ฯลฯ (ให้ นศ. ดู P13-56) หัวปลาคืออะไร? ๑๓-๕๖
71
ขั้นตอนในการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QCC
การกำหนดให้เป็นนโยบายของหน่วยงาน กำหนดโครงสร้างของกลุ่มสร้างคุณภาพ จัดตั้งคณะกรรมการฯ กำหนดตัวผู้ประสานงาน การจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่ม(ชื่อกลุ่ม ชื่อหน่วยงาน ชื่อหัวหน้า) การกำหนดเรืองและเป้าหมาย การดำเนินการตามขั้นตอนวงจรเดมมิ่ง (P-D-C-A circle) ๑๓-๕๗
72
วงจรเดมมิ่ง (P-D-C-A circle)
การวางแผน (plan) นำแผนมาปฏิบัติ (do) ตรวจสอบผลการปฏิบัติ (check) นำมาปรับปรุงแก้ไข (action) วงจรเดมมิ่งนำมาใช้ในขั้นตอนใด? ๑๓-๕๗
73
หลักการพื้นฐานของการบริหารคุณภาพ ๗ ประการ
การให้ความสำคัญกับลูกค้า ความเป็นผู้นำ การมีส่วนร่วมของบุคลากร การบริหารเชิงกระบวนการและเชิงระบบ การตัดสินใจบนพื้นฐานความเป็นจริง ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วมกัน การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ISO(international Organizational for Standardization) ในประเทศไทยที่นิยมใช้? ๑๓-๕๘,๕๙
74
แผนภูมิแกนต์ (Gantt chart)
♠ แสดงความก้าวหน้าของงาน ♠♠จัดลำดับงานที่ต้องทำก่อน-หลัง แผนภูมิแกนต์ แนวตั้ง แสดงถึงงานที่ต้องทำตามลำดับ แผนภูมิแกนต์ แนวนอน แสดงถึงเวลา แผนภูมิแกนต์ สะดวกและง่ายต่อความเข้าใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑๓-๓๑,๓๒
75
หน่วยที่ ๑๔ อันตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
หน่วยที่ ๑๔ อันตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต วัตถุดิบนำเข้า (input) กระบวนการผลิต (process) ผลผลิต ผลิตภัณฑ์ (output) ข้อมูลป้อนกลับ (feed back) ๑๔-๕
76
พื้นฐานการผลิต การผลิตเป็นจำนวนมาก(mass production) อาหารกระป๋อง ปากกา ดินสอ ฯลฯ การผลิตแบบพอประมาณ(moderate production) เครื่องกลึง เครื่องอัด เครื่องเจาะ ฯลฯ การผลิตแบบรับงานย่อยเป็นช่วง(job lot production) อะไหล่รถยนต์รุ่นเก่า แขน-ขาเทียม กระแสไฟฟ้าชนิดพิเศษ ฯลฯ ๑๔-๖
77
ประเภทของกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
การผลิตแบบต่อเนื่อง เช่น โรงงานกระดาษ ปูนซีเมนต์ กระจกฯลฯ การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น โรงชุป โรงกลึง โรงหล่อ ทำเบาะรถยนต์ ประกอบบันไดเลื่อน ซ่อมรถยนต์ฯลฯ การผลิตแบบผลิตซ้ำ เช่น ทอกระสอบ ทอผ้า ทำรองเท้า เย็บเสื้อผ้า ประดิษฐ์ดอกไม้ฯลฯ การผลิตแบบงานโครงการ เช่น โรงงานต่อประกอบโครงเหล็ก โรงงานผลิตหม้อไอน้ำ โรงงานต่อเรือ โรงงานผลิตตามสัญญาฯลฯ ๑๔-๑๐,๑๑
78
ปัจจัยสำคัญในการออกแบบกระบวนการผลิต
ปัจจัยผลิตภัณฑ์ ปัจจัยทางวัสดุ ปัจจัยเครื่องจักร ปัจจัยการผลิต ปัจจัยต้นทุน ปัจจัยอาคาร ปัจจัยอื่นๆ พลังงาน การขายตัว ชื่อเสียงองค์การ ความมั่งคงปลอดภัย แนวโน้มของธุรกิจฯลฯ ๑๔-๑๒
79
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางเคมี สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงาน ทางด้านสุขศาสตร์อุสาหกรรม(๕) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางเคมี สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ สิ่งแวดล้อมทางด้านเออร์โกโนมิคส์ สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตสังคม ๑๔-๑๖,๑๗
80
สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงาน ทางด้านอาชีวนิรภัย(๓)
สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงาน ทางด้านอาชีวนิรภัย(๓) ทางด้านการบริหารจัดการความปลอดภัย การกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐาน (substandard acts) หรือการกระทำที่ไม่ปลอดภัย (unsafe acts) สภาพการที่ต่ำกว่ามาตรฐาน(substandard conditions) หรือสภาพการที่ไม่ปลอดภัย (unsafe conditions) ๑๔-๑๖,๑๗
81
สิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายในอุตสาหกรรมหลอมเหล็ก
ฝุ่น(particulate) ความร้อน (heat) ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ (carbon monozide :CO) โลหะหนัก (heavy metal) ประกอบด้วย นิเกิล เหล็ก แมงกานิส เซเลเนียม พลวง เทเลเนียม ๑๔-๑๙,๒๐
82
อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษมีขั้นตอนดังนี้
การเตรียมเยื่อกระดาษ (สารฟอกสี สารขจัดฟอง กรดปรับph) การรีดให้เป็นแผ่น การทำให้แห้ง (ไอน้ำและอนุภาคจากสารเคมี) การทำให้เป็นกระดาษสำเร็จ ฟอร์มาดีไฮด์(formaldehyde) พีนอล(phenol) แอมโมเนีย (ammonia) และสารประกอบสารอินทรีระเหย เช่น petroleum naptha และ hexane xylene toluene ๑๔-๒๔,๒๕
83
อุตสาหกรรมการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ /กระบวนการ
การออกแบบ(design) การสร้างเหล็ก(crystal processing) การทำเวเฟอร์(wafer fabrication) การเรียงขั้นสุดท้ายและทำความสะอาด(final layering and cleaning) การประกอบ(assembly) ๑๔-๒๖,๒๗
84
อันตรายจากเซมิคอนดักเตอร์(สรุป)
ตัดแผ่นเวเฟอร์ สารอันตราย ฝุ่นที่อยู่ในรูปสารหนู เชื่อมชิพลงบนแผ่นเฟรม สารอันตราย ไอระเหยอะซิโตน เข้าทางหายใจและการสัมผัส หุ้มชิพและเส้นลวดด้วยเรซิน สารอันตราย สารพลวง สารประกอบโบรมีน เข้าสู่ร่างกายโดยทางหายใจ ขจัดเรซินที่ไม่ต้องการออก สารอันตราย ตะกั่ว ดีบุกหรือบิสมัส กรดซัลฟลูริค โปรแตสเซียมคลอไรด์ กรดไนตริก เข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจและสัมผัส ตัดขาไอซีที่ไม่ต้องการออก อันตรายคือ เสียง ฝุ่นจากเศษโลหะ ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ อันตรายคือ สายตาและความเครียด ๑๔-๒๘,๒๙
85
แผนภาพกระบวนการผลิต (อธิบายลักษณะแผนภาพกระบวนการผลิต)
๑.แผนภาพระบบงาน(schematic diagram) เป็นแผนภาพที่จัดเตรียมจากกระบวนการผลิต โดยทั่วไปเป็นการแสดงการไหลของวัสดุในแผนภาพฯลฯ ๒.แผนภาพการไหลของกระบวนการ(process flow diagram) ไม่จำเป็นต้องจัดทำเป็นตามมาตรส่วนเช่นเดียวกับแผนภาพระบบงาน ในแผนภาพจะกล่าวถึงวัสดุหรือตัวกลางที่ถูก ขนถ่ายไปตามท่อฯลฯ ๑๔-๓๒,๓๓
86
วิธีการจัดทำหรือทำแผนภาพการไหลของกระบวนการ
การวางผังแผนภาพการไหลทางวิศวกรรม เส้นทางการไหล การแสดงวาล์วบนแผนภาพการไหล อุปกรณ์เครื่องมือวัด ข้อมูลอุปกรณ์การผลิต ข้อมูลกระบวนการสำหรับอุปกรณ์การผลิต การระบุอุปกรณ์ การระบุลักษณะการใช้งานของไหลบนแผนภาพการไหล การแสดงการจัดการของ การสมดุลวัสดุ ๑๔-๓๓,๓๔,๓๕
87
แผนภาพระบบท่อและอุปกรณ์เครื่องมือวัด (ให้อธิบายความหมาย)
แผนภาพระบบท่อและอุปกรณ์เครื่องมือวัดหรือแผนภาพการไหลทางวิศวกรรมเป็นแผนภาพที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อแสดงเส้นทางของกระบวนการผลิตที่เชื่อมต่อระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ของอุปกรณ์ในกระบวนการ เช่น ถังสูง เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ปั้ม ฯลฯ ๑๔-๓๖
88
หน้าที่ของอุปกรณ์เครื่องมือวัด(๔)
เพื่อตรวจรับ(to sense) เพื่อส่งผ่าน(to transmit) เพื่อบันทึก(to record) เพื่อควบคุม(to control) ๑๔-๔๕,๔๖
89
E-mail : re.rajapark@msn.com
thank you S H , exp. 113, 116
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.