งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี2555
ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 30 ก.ค.55 จังหวัดเลยมีรายงานผู้ป่วย จำนวน 447 ราย เสียชีวิต 1 รายอัตราป่วยเท่ากับ ต่อประชากรแสนคน อัตราตายเท่ากับ 0.16 อัตราป่วยตายร้อยละ 0.22 เปรียบเทียบข้อมูลอัตราป่วยระดับประเทศ ณ วันที่ 27 ก.ค.55 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกเป็นลำดับที่ 14 ของปะเทศ ลำดับที่ 1 ของภาคและเขต

2 แนวโน้มอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2544 - 2555
ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

3 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน ปี 2555 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

4 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ จังหวัดเลย ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ จังหวัดเลย ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

5 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอหนองหิน ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอหนองหิน ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

6 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอภูกระดึง ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอภูกระดึง ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

7 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเอราวัณ ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเอราวัณ ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

8 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอท่าลี ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอท่าลี ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

9 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเมือง ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเมือง ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

10 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเชียงคาน ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอเชียงคาน ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

11 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอด่านซ้าย ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอด่านซ้าย ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

12 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอวังสะพุง ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอวังสะพุง ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

13 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอผาขาว ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอผาขาว ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

14 แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอนาแห้ว ปี 2555
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ อำเภอนาแห้ว ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

15 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ จังหวัดเลยปี 2555
ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

16 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุ จังหวัดเลย ปี 2555

17 พื้นที่เกิดโรคต่อเนื่องในรอบ 4 สัปดาห์
อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนสะสมตั้งแต่ต้นปี วันเริ่มป่วยรายแรก วันเริ่มป่วยรายสุดท้าย เมือง กุดป่อง หนองผักก้าม 4 30 มิ.ย.55 9 ก.ค.55 นาโป่ง หนองบอน ม.8 3 23 มิ.ย.55 13 ก.ค.55 ชัยพฤกษ์ นาบอน ม.5 7 9 พ.ค.55 14 ก.ค.55 นาบอน ม.7 17 ก.ค.55 26 ก.ค.55 12 มิ.ย.55 4 ก.ค.55 เชียงคาน ธาตุ สงเปือย ม.11 22 พ.ค.55 23 ก.ค.55 สงเปือย ม.7 ธาตุ ม.4 2 5 11 ก.ค.55 15 พ.ค.55 15 ก.ค.55

18 พื้นที่เกิดโรคต่อเนื่องในรอบ 4 สัปดาห์
อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนสะสมตั้งแต่ต้นปี วันเริ่มป่วยรายแรก วันเริ่มป่วยรายสุดท้าย นาแห้ว นามาลา โคก ม.6 6 8 มิ.ย.55 14 ก.ค.55 ท่าลี่ โคกใหญ่ โคกใหญ่ ม.1 14 19 พ.ค.55 1 ก.ค.55 โคกใหญ่ ม.5 4 25 พ.ค.55 5 ก.ค.55 วังสะพุง เขาหลวง แก่งหิน ม.4 3 20 พ.ค.55 7 ก.ค.55 ภูกระดึง ศรีฐาน นาแปน ม.2 22 พ.ค.55 11 ก.ค.55 ทานตะวัน ม.11 9 11 พ.ค.55 17 ก.ค.55 นายาง ม.5 ทุ่งใหญ่ ม.1 2 18พ.ค.55 24 มิ.ย.55 16 ก.ค.55 9 ก.ค.55

19 พื้นที่เกิดโรคต่อเนื่องในรอบ 4 สัปดาห์
อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนสะสมตั้งแต่ต้นปี วันเริ่มป่วยรายแรก วันเริ่มป่วยรายสุดท้าย ผาขาว เพิ่ม เพิ่ม ม.7 6 1 มิ.ย.55 14 ก.ค.55 เอราวัณ ผาสามยอด ซำม่วง ม.5 2 6 ก.ค.55 16 ก.ค.55 โคกสวรรค์ ม.5 4 9 พ.ค.55 7 ก.ค.55 โคกรัง ม.7 18 มิ.ย.55 โนนถาวร ม.13 3 18 ก.ค.55 21 ก.ค.55 ผาอินทร์แปลง เอราวัณ ม.7 5 10 ก.ค.55 เอราวัณ ม.12 เอราวัณ ม.13 เอราวัณ ม.3 9 15 พ.ค.55 30 มิ.ย.55 23 ก.ค.55 1 ก.ค.55

20 พื้นที่เกิดโรคต่อเนื่องในรอบ 4 สัปดาห์
อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนสะสมตั้งแต่ต้นปี วันเริ่มป่วยรายแรก วันเริ่มป่วยรายสุดท้าย หนองหิน ฟากนา ม.4 7 21 มิ.ย.55 14 ก.ค.55 ปวนพุ เหล่าใหญ่ ม.2 3 11 ก.ค.55 18 ก.ค.55 ผาหวาย ม.3 16 16 พ.ค.55 7 ก.ค.55 หนองหมากแก้ว 2 22 มิ.ย.55 2 ก.ค.55

21 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการติดตามการควบคุมโรค
ไข้เลือดออกในพื้นที่ สำหรับเจ้าหน้าที่ 1.ไม่มีการนำแผนที่มาใช้ในการวางแผนการควบคุมโรค เช่น การทำ spot map -ขาดความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง case ต่อ case -ขาดความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อ vector 2.ขาดการเข้าไปในพื้นที่ก่อนเข้าควบคุมโรค (ทำให้ การควบคุมโรคไม่ได้ผล)

22 3.ขาดการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบว่ามีโรค
เกิดขึ้นในพื้นที่ และขอความร่วมมือในการควบคุมโรค 4.ควบคุมโรคไม่ครอบคลุม ทำเฉพาะยุงลายบ้าน แต่ ไม่ทำยุงลายสวน -จากการเก็บลูกน้ำ ที่วัดหนองแวง นำมาเลี้ยง ลักษณะยุงตัวเต็มวัยเป็นยุงลายสวนทั้งหมด 5.ขาดการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ ภาชนะที่ไม่ ใช้รอบๆบริเวณบ้าน การตัดหญ้า (จากการเข้าพื้นที่ เกิดโรคส่วนใหญ่สิ่งแวดล้อมไม่ดี มีขยะ หญ้ารกรุงรัง บริเวณบ้านไม่สะอาด) 6.ขาดการกำกับดูแลในการควบคุมโรคที่ต่อเนื่องจากผู้บังคับ บัญชา

23 7.จนท.ยังไม่ปรับองค์ความรู้ให้ทันกับสภาพการเกิดโรค
ในปัจจุบัน ที่ประชาชนไม่ได้อยู่ในบ้านในตอนกลางวันตามลักษณะของอาชีพ และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ป่าเพิ่มมากขึ้น และอยู่ใกล้บ้าน ยังคงใช้วิธีเดิมในการควบคุมโรค เช่น ใส่ทีมีฟอส ทำลายยุงตัวเต็มวัย ซึ่งทำเฉพาะยุงลายบ้าน แต่ไม่สนใจยุงลายสวน ประธาน ฝากผู้บริหาร ทำความเข้าใจกับท้องถิ่น อสหมู่. เน้นการสุขาภิบาล ศตม. เจ้าหน้าที่ควบคุมยุงโดยการพ่นยาเคมี หลักการคือเครื่องพ่นแบบหมอกควัน เหมาะสำหรับสังเกตว่า

24 อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีสแยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2555
ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55 มีผู้ป่วยจำนวน 57 ราย ไม่มีเสียชีวิต อัตราป่วยเท่ากับ 9.16 ต่อแสน.

25 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก แยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2555
จำนวน (ราย) ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55 มีผู้ป่วยจำนวน 100 ราย ไม่มีเสียชีวิต อัตราป่วยเท่ากับ ต่อแสน.

26 อัตราป่วยโรคมือเท้า ปาก แยกกลุ่มอายุ จังหวัดเลย ปี 2555

27 มาตรการป้องกันควบคุมโรค มือ เท้า ปาก
วันที่ 29 กค. 55 รมว.กระทรวงสาธารณสุข (นายวิทยาบุรณศิริ) ย้ำเตือน มาตรการป้องกันควบคุมโรค มือเท้า ปาก ยังคงไว้ที่ 10 มาตรการสู่ศูนย์เด็ก ปลอดโรคของกรมควบคุมโรค 1.ครูผู้ดูแลเด็กทุกคนต้องได้รับการอบรมเรื่อง การป้องกัน ควบคุมโรคอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 2.มีการตรวจสอบการได้รับวัคซีนทุกภาคเรียน 3.มีการตรวจสุขภาพร่างกายและบันทึกอาการป่วยของเด็ก ทุกคน ทุกวัน

28 4.มีมาตรการเบื้องต้นในการป้องกันควบคุมโรค
4.1การแยกเด็กป่วย 4.2การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 4.3มีการทำความสะอาด และการทำลายเชื้อ อย่างถูกต้อง 4.4เด็กทุกคนต้องมีแก้วน้ำ ช้อน จาน/ชาม และ ผ้าเช็ดหน้าเป็นของตนเอง ไม่ปะปนและใช้ร่วมกับ เด็กคนอื่น 5.ครูผู้ดูแลเด็กทุกคน ควรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี หรือ X-ray ปอด อย่างน้อยทุก 1-2 ปี 6.ครูผู้ดูแลเด็กทุกคน ควรมีสุขภาพแข็งแรง

29 7.ครูผู้ดูแลเด็กสอนให้ความรู้เด็กในเรื่องการป้องกัน
ควบคุมโรคสัปดาห์ละครั้ง 8.ครูผู้ดูแลเด็กจัดให้มีกิจกรรมการล้างมือทุกวัน 9.ครูผู้ดูแลเด็ก ดูแลเด็กเบื้องต้น และส่งต่อเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข 10.ครูผู้ดูแลเด็ก จัดกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง อย่างน้อยปีละครั้ง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

30 รายงานผู้ป่วย Diptheria และการควบคุมโรค
อ.ด่านซ้าย จ.เลย วันที่ 29 มิ.ย.-16 กค. 55 ผู้ป่วยรายที่ 1 เพศชาย อายุ 40 ปี 138 ม. 1 ต.ด่านซ้าย เริ่มป่วย 26 มิ.ย.55 รักษา 29 มิ.ย.55 ผล LAB +ve เป็น Passive case ผู้สัมผัสใกล้ชิด 35 คน ผล –ve ทั้งหมด หมายเหตุ ผู้ป่วย HIV +ve และเสียชีวิตวันที่ 12 กค. 55

31 รายที่ 2 เพศชาย อายุ 21 ปี 23 ม. 6 ต.กกสะทอน เริ่มป่วย 1 กค.55 เป็น Active case ผล LAB+ve

32 รายที่ 3 เพศชาย อายุ 25 ปี 23 ม.6 ต.กกสะทอน
เป็นพี่ชายของรายที่ 2 เริ่มป่วย 4 กค.55 รักษา รพร. ด่านซ้าย 6 กค. 55 ผล LAB +ve ส่งต่อ รพ.เลย เสียชีวิต 11 กค. 55 เป็น Passive case ผู้สัมผัสใกล้ชิด รพ.เลย 61 คน ผล –ve ผู้สัมผัสร่วมบ้านที่ได้ทำ TS 1 ราย คือ ผู้ป่วยรายที่ 2 ผล LAB +ve

33 รายที่ 4 เพศหญิง อายุ 40 ปี 7 ม.7 กกจาน
ต.กกสะทอน เริ่มป่วย 9 กค.55 รักษา รพร.ด่านซ้าย 11 กค.55 ผล LAB +ve เป็น Passive case Close contact 3 คน (สามี 1 และลูกชาย ฝาแฝด 2 คน ผล LAB –ve)

34 รายที่ 5 เพศชาย อายุ 25 ปี 71 ม.9 ทับกี่ ต.อิปุ่ม
เริ่มป่วย 13 กค. 55 รักษา รพร.ด่านซ้าย 16 กค.55 เป็น Passive case ผล LAB +ve Close contact 12 คน ผล –ve 8 คน ผล +ve 4 คน (23 กค.55) ทำ close contact วันที่ 24 กค.55 คนที่ 1 เพศหญิง close contact 5 คน คนที่ 2 เพศหญิง เป็นนักเรียน close Contact 11 คน (นร. 9 คน ครู 1 คน ป.1 จำนวน 1 คน) คนที่ 3 เพศหญิง ผู้สัมผัส 9 คน คนที่ 4 เพศหญิง นักเรียน ผู้สัมผัส 43 คน ครู 2 คน และ นร.ป.2 1 คน ทำ TS 37 คน chemophylaxis 71 คน

35 สรุป คนที่ 3 เพศ ญ ผู้สัมผัส 26 มิ.ย.55 1กค.55 13 กค.55
4 กค.55 13 กค.55 9 กค.55 ม.1 ต.ด่านซ้าย ม.6 ต.กกสะทอน ม.6 ต.กกสะทอน ม.7 ต.กกสะทอน ม.9 ทับกี่ ต.อิปุ่ม เพศชาย อายุ 25 ปี ผู้สัมผัส 12 คน +ve 4 คน คนที่ 1 เพศ ญ ผู้สัมผัส 5 คน คนที่ 2 เพศ ญ. ผู้สัมผัส 11 คน (นร.9 ครู 1 ป.1 จำนวน1 คน) เพศชาย อายุ 40 เพศหญิง อายุ 40 เพศชาย อายุ 21 เป็น active case เพศชาย อายุ 25 เสียชีวิต ผู้สัมผัส 35 คน ผล -ve เป็น passive case เป็น passive case เสียชีวิต 11 กค.55 ผู้สัมผัส 3 คน ผล -ve เป็น passive case คนที่ 3 เพศ ญ ผู้สัมผัส 9 คน ผู้สัมผัส 1 คน ผล +ve พี่ชายผู้ป่วย วันที่ 1 กค.55 เสียชีวิต 12 กค.55 คนที่ 4 เพศ ญ ผู้สัมผัส 46 คน สรุป ทำ TS 37 คน ทำ Chemophylaxis 71 คน

36 เพศชาย ต.ด่านซ้าย

37 หญิง ต.กกสะทอน บ้านกกจาน

38 ชาย ต.อิปุ่ม บ้านทับกี่

39 เด็กชาย สงสัย อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก

40 ผลการเฝ้าระวังโรคคอตีบ
อำเภอภูหลวง 4 ราย (ภูหอ หนองคัน 2 ราย และเลยวังไสย์ อำเภอวังสะพุง 2 ราย (โคกขมิ้น ผาน้อย) อำเภอผาขาว 1 ราย (โนนปอแดง) รวม 7 ราย ผลยังไม่ออก

41 วันที่ 30 กค.55 เวลา 15.15 น. ได้รับรายงานจาก
รพร.ด่านซ้าย สงสัยผู้ป่วยโรคคอตีบ 1 ราย เพศชาย อายุ 41 ปี เริ่มป่วย 28 กค.55 มา รพร.ด่านซ้าย 29 กค.55 ไข้สูง เจ็บคอ มีฝ้าเทา+เหลือง ที่ Pharyn ประมาณ 2-3 ซม. เข้าห้องแยก ให้ DAT 40000 ยูนิต **ที่อยู่ผู้ป่วย 2 ม.5 ห้วยมุ่น อยู่ระหว่างตูบค้อ และกกจาน

42 การให้ยาปฏิชีวนะ (หลังจากทำ Throat swab)
ผู้ใหญ่ ให้ Erythromycin (500 mg) 1 เม็ด 4 เวลา เช้า-กลางวัน-เย็น-ก่อนนอน (ไม่เกิน 2 gm/วัน) หลัง อาหารครึ่งชั่วโมง นาน 10 วัน กรณีหญิงตั้งครรภ์ให้ ปรึกษาสูติแพทย์ กรณีไม่มี Erythromycin ให้ Roxithromycin (150 mg) 1 เม็ด 2 เวลา เช้า-เย็น หลังอาหารครึ่ง ชั่วโมงแทน เด็ก ให้ Erythromycin syrup (50 mg/kg/day,แต่ไม่ เกิน 2 gm/วัน 4 เวลา นาน 10 วัน ถ้าผล TS เป็นบวก ให้ยาต่อจนครบ 14 วัน

43 วันที่ 31 กค. 55 ผล Closed contact ของ
Closed contact จำนวน 4 ราย ที่ผล +ve จากผู้ป่วยชาย อายุ 25 ปี บ้านทับกี่ ต.อิปุ่ม ที่ทำ TS จำนวน 37 ราย ผล +ve จำนวน 6 ราย เพศชาย 4 ราย หญิง ราย อายุระหว่าง ปี (5 ปี 1 ราย 6 ปี 2 ราย 8 ปี 1 ราย และ 10 ปี 2 ราย) Index case ขณะทำ TS ในวันที่ 24 กค. 55 คือ เพศชาย อายุ 5 ปี ขณะทำมีอาการไข้ ทอนซิลบวมแดง สรุป Case จำนวน 5 ราย Closed Contact จำนวน 10 ราย

44 ผลการทำวัคซีน ต.ด่านซ้าย (17 หมู่บ้าน) ร้อยละ 75.74 ต.กกสะทอน 1.รพ.สต.ตูบค้อ (6 หมู่บ้าน 1 ชุมชน) ร้อยละ 97.46 2.รพ.สต.น้ำเย็น (4 หมู่บ้าน) ร้อยละ 98.12 ต.อิปุ่ม 1.รพ.สต.ทับกี่ 3 หมู่บ้าน ร้อยละ 95.14 2.รพ.สต.วังบอน 2 หมู่ ร้อยละ 96.35 หมายเหตุ ต.อิปุ่ม พบ Closed contact + ve 4 ราย จึงทำวัคซีนทั้งตำบล 13 หมู่บ้าน (31 กค. 55)

45 โครงการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ตามฤดูกาลจังหวัดเลย ปี 2555

46 วัตถุประสงค์ ลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วย และเสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ ในประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคสูง ลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดใหญ่ ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่คลินิกของโรงพยาบาล ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก ที่อาจทำให้การแพร่กระจายในมนุษย์เป็นได้ง่ายขึ้น 46

47 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มบุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล และไข้หวัดนก 1.1 แพทย์ พยาบาล บุคลากรอื่น ๆ ในโรงพยาบาล รวมทั้งนักศึกษาฝึกงาน 1.2SRRT 1.3 จนท./อส.ทำลายซากสัตว์ปีก และสัตว์อื่นที่ติดเชื้อ ไข้หวัดนก 1.4 จนท.ห้อง Lab การตรวจวินิจฉัย ไวรัสไข้หวัดใหญ่

48 กลุ่มเป้าหมาย(ต่อ) 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง(ตามที่สปสช.กำหนด)
2.1 บุคคลอายุ 2 ปีขึ้นไป ถึง 65 ปี ที่เป็นโรคเรื้อรัง 7 โรค ได้แก่ COPD ,หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , CAระหว่างเคมี บำบัด และเบาหวาน 2.2บุคคลที่มีอายุ 65 ปี ขึ้นไปทุกคน

49 กลุ่มเป้าหมาย(ต่อ) 3. บุคคลกลุ่มเสี่ยงอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกำหนด ได้แก่ 3.1 หญิงมีครรภ์อายุ 4 เดือนขึ้นไป 3.2 บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม หรือ BMI มากกว่า 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) 3.3 ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ 3.4 เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี ทุกคน 3.5 ผู้ป่วยธาลัสซีเมียและผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง(รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ

50 กำหนดการรณรงค์ 1 มิถุนายน – 30 กันยายน 2555 50

51 การจัดสรรวัคซีนจังหวัดเลย
อำเภอ บุคลากร ประชาชน รวม เลย , ,515 นาด้วง เชียงคาน ปากชม ด่านซ้าย , ,643 นาแห้ว ภูเรือ ท่าลี่ , ,267 51

52 การจัดสรรวัคซีนจังหวัดเลย
อำเภอ บุคลากร ประชาชน รวม วังสะพุง , ,427 ภูกระดึง ภูหลวง ผาขาว เอราวัณ , ,225 หนองหิน รพ.จิตเวชฯ รพ.ค่ายฯ สสจ.เลย รวม , , ,147 52

53 ผลการให้บริการฉีดวัคซีนจังหวัดเลย (1 – 25 มิ.ย 2555)
อำเภอ บุคลากร ประชาชน รวม เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ วังสะพุง , , เอราวัณ , , ** จังหวัดเลย เป็น 1 ใน 10 จังหวัดที่มีผลงานต่ำสุดของประเทศ ในช่วง 3 สัปดาห์ (1 มิ.ย 2555 – 22 มิ.ย 2555) 53

54 วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลปี 2555
วัคซีนขนาด 0.5 มล. ประกอบด้วยไวรัสชนิดเชื้อตาย* ประกอบด้วย แอนติเจนที่คล้ายคลึงกับแอนติเจนของไวรัสต่อไปนี้ - A/California/7/2009 (H1N1) ** - A/Perth/16/2009 (H3N1) - B/Brisbane/60/2008 (H1N1) ทุกสายพันธุ์ มี 15 ไมโครกรัมของฮีแมกกลูตินิน แพร่พันธุ์ใน (fertilized) ไข่ไก่ จากไก่ที่สุขภาพสมบูรณ์

55 กลวิธีดำเนินงาน เหมือนปี 2554
รายงานผลการฉีดวัคซีน ทางระบบ online web site

56 ค่าจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่จากสปสช.
โดยสปสช. โอนให้กับโรงพยาบาลโดยตรง(จ่ายกลุ่มเป้าหมาย ตามข้อ 1,2) บันทึกข้อมูลในโปรแกรม ภายใน 15 ต.ค 55 * กลุ่มบุคลากรเป้าหมาย บาท * กลุ่มประชาชน บาท บันทึกข้อมูลในโปรแกรม ตั้งแต่ 16 ต.ค – 30 พ.ย 55 * กลุ่มบุคลากร บาท * กลุ่มประชาชน บาท

57 ประเมินผลการให้บริการ
ตัวชี้วัด อัตราความครอบคลุมการให้บริการในกลุ่มบุคลากร ไม่น้อยกว่าร้อยละ90 อัตราความครอบคลุมการให้บริการในประชาชน กลุ่มเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

58 เอกสารแนะนำความรู้ FLU
สนับสนุนสื่อ เอกสารแนะนำความรู้ FLU - แบบสอบถามผู้มารับบริการวัคซีนฯ)


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google