งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน

2 ความหมายของสินค้าคงเหลือ
1. กิจการมีไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจโดยปกติ 2. อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นสินค้าสำเร็จรูป 3. มีไว้เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ

3 ประเภทของสินค้าคงเหลือ
ธุรกิจพาณิชยกรรมหรือธุรกิจที่ซื้อสินค้ามาขาย สินค้าคงเหลือ หมายถึงสินค้าสำเร็จรูปซึ่งกิจการซื้อมาขายไปโดยมีราคาทุนเท่ากับราคาซื้อบวกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดซื้อรวมทั้งภาษีและการขนส่งสินค้าเข้ามาเพื่อให้สินค้านั้นอยู่ในสภาพพร้อมที่จะขายได้ ธุรกิจอุตสาหกรรมหรือธุรกิจที่ผลิตสินค้าเพื่อขาย สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างทำ หรือสินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบและวัสดุใช้ในการผลิต โดยมีต้นทุนผลิตสินค้าประกอบด้วยต้นทุน วัตถุดิบทางตรงที่ใช้ในการผลิต และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้านั้น ธุรกิจประเภทให้บริการ สินค้าคงเหลือ หมายถึง งานให้บริการโดยมีต้นทุนงานให้บริการประกอบด้วยค่าแรงงานและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ

4 รายการที่นับเป็นสินค้าคงเหลือ
1. สินค้าระหว่างทาง 2. สินค้าฝากขาย (Consigned Goods)  3. สินค้าที่ขายกรณีเผื่อชอบ (Sale on Approval) 4. สินค้าที่ขายโดยมีเงื่อนไข และ สินค้าที่ขายตามสัญญาผ่อนชำระ (Conditional and Installment Sales)

5 วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ
วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ      วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือมี 2 วิธี คือ 1. วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด Periodic Inventory System วิธีนี้จะบันทึกซื้อสินค้าในบัญชีซื้อในระหว่างงวด ยอดในบัญชีสินค้าคงเหลือ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในวันสิ้นงวดจะบันทึกปิดบัญชีสินค้าต้นงวด และจะบันทึกสินค้าปลายงวดด้วยต้นทุนที่ได้จากการตรวจนับและตีราคา 2. วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง Perpetual Inventory System วิธีนี้จะบันทึกซื้อและขายสินค้าจากบัญชีสินค้านั้นโดยตรง จะไม่มีบัญชีซื้อ และจะบันทึกบัญชีต้นทุนขายเมื่อมีการขายสินค้า ต้นทุนสินค้าคงเหลือปลายงวด จะได้จากยอดคงเหลือในบัญชีสินค้าคงเหลือ

6 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่องและแบบสิ้นงวด

7 ตัวอย่างที่ 1 บริษัท รักค้า จำกัด ดำเนินกิจการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ ณ วันที่ 1 มกราคม X1 มีสินค้าคงเหลือยกมา 75,000 บาท   รายการที่ 1 วันที่ 5 มกราคม 25X1 ซื้อสินค้า 20 หน่วย ราคาขายหน่วยละ 25,000 บาท ได้รับส่วนลดการค้า 5% เงื่อนไขการชำระเงิน 2/10, n/30 F.O.B. Shipping Point * กิจการจะไม่บันทึกส่วนลดการค้า ดังนั้นราคาซื้อสินค้าสุทธิจึงเท่ากับ 25,000 X 20 = 500,000 -5% = 475,000 บาท Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. สินค้าคงเหลือ ,000 Cr. เจ้าหนี้ ,000 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ Dr. ซื้อ ,000 Cr. เจ้าหนี้ ,000

8 รายการที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 25X1 จ่ายค่าขนส่งสินค้า 5,000 บาท
Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. สินค้าคงเหลือ ,000 Cr. เงินสด ,000 จ่ายค่าขนส่งสินค้า Dr. ค่าขนส่งเข้า ,000 Cr. เงินสด ,000

9 รายการที่ 3 วันที่ 10 มกราคม 25X1 ส่งคืนสินค้า 4 หน่วยให้แก่ผู้ขาย สินค้าราคาขายหน่วยละ 25,000 บาท
Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. เงินสด ,000 Cr. สินค้าคงเหลือ ,000 ส่งคืนสินค้า Dr. เจ้าหนี้ ,000 Cr. ส่งคืนและส่วนลด ,000

10 จ่ายชำระหนี้ค่าสินค้า Dr. เจ้าหนี้ 380,000 Cr. เงินสด 372,400
รายการที่ 4 วันที่ 15 มกราคม 25X1 จ่ายชำหนี้ค่าสินค้าให้แก่ผู้ขาย ตามเงื่อนไข 2/10, n/30 เนื่องจากกิจการจ่ายชำระหนี้ตามกำหนดจึงได้รับส่วนลด 2% ดังนั้นกิจการจะได้รับส่วนลดจากราคาสินค้าหลังหักรายการส่งคืนสินค้า = (475,000 – 95,000 ) X 2% = 7,600 บาท และจ่ายเงินชำระหนี้จำนวน (380,000 – 7,600) = 372,400 บาท Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. เจ้าหนี้ ,000 Cr. เงินสด ,400 สินค้าคงเหลือ ,600 จ่ายชำระหนี้ค่าสินค้า Dr. เจ้าหนี้ ,000 Cr. เงินสด ,400 ส่วนลดรับ ,600

11 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ Dr. ต้นทุนขาย 237,500 บันทึกต้นทุนขายสินค้า
รายการที่ 5 วันที่ 20 มกราคม 25X1 ขายสินค้า 10 หน่วย ราคาหน่วยละ 40,000 บาท สินค้ามีราคาทุนหน่วยละ 23,750 บาท เงื่อนไข 2/10, n/30 F.O.B. Destination   Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. ลูกหนี้ ,000 Cr. ขาย ,000 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ Dr. ต้นทุนขาย ,500 Cr. สินค้าคงเหลือ ,500 บันทึกต้นทุนขายสินค้า Dr. ลูกหนี้ ,000 Cr. ขาย ,000 ไม่ต้องบันทึกบันชี

12 บันทึกการรับคืนสินค้า
รายการที่ 6 วันที่ 22 มกราคม 25X1 รับคืนสินค้าจากลูกค้า 2 หน่วย สินค้ามีราคาขายหน่วยละ 40,000 บาท และมีราคาทุนหน่วยละ 23,750 บาท   Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. รับคืนและส่วนลด ,000 Cr. ลูกหนี้ ,000 บันทึกการรับคืนสินค้า Dr. สินค้าคงเหลือ ,500 Cr. ต้นทุนขาย ,500 บันทึกลดยอดต้นทุนขายสินค้า Dr. รับคืนและส่วนลด ,000 Cr. ลูกหนี้ ,000 ไม่ต้องบันทึกบันชี

13 รายการที่ 7 วันที่ 30 มกราคม 25X1 ได้รับชำระหนี้ค่าสินค้าจากลูกค้าตามเงื่อนไข 2/10, n/30
Perpetual Inventory System Periodic Inventory System Dr. เงินสด ,600 ส่วนลดจ่าย ,400 Cr. ลูกหนี้ ,000 บันทึกการรับชำระหนี้จากลูกค้า ส่วนลดจ่าย ,400 Cr. ลูกหนี้ ,000 เนื่องจากลูกค้าจ่ายชำระหนี้ตามกำหนดกิจการจึงให้ส่วนลด 2% ดังนั้นส่วนลดที่กิจการให้ลูกค้าจะคิดจากราคาสินค้าหลังหักรายการรับคืนสินค้า = (400,000 – 80,000 ) X 2% = 6,400 บาท และเงินที่ได้รับชำระหนี้เป็นจำนวน (320,000 – 6,400) = 313,600 บาท

14 Perpetual Inventory System
รายการที่ 8 วันที่ 31 มกราคม 25X1 กิจการทำการสรุปยอดสินค้าคงเหลือและต้นทุนขายประจำเดือน โดยที่กิจการตรวจนับสินค้าคงเหลือมีมูลค่า 262,400 บาท Perpetual Inventory System ต้นทุนขาย = 237,500 – 47,500   = 190,000 บาท สินค้าคงเหลือ = , , ,000 – 95,000 – 7,600 - 237, ,500 = 262,400 บาท

15 Periodic Inventory System ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 75,000 บวก ซื้อ 475,000 บวก ค่าขนส่งเข้า 5, ,000 หัก ส่งคืนและส่วนลด (95,000) ส่วนลดรับ (7,600) (102,600) ซื้อสุทธิ 377,400 สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 452,400 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด (262,400) ต้นทุนสินค้าขาย 190,000

16 เปรียบเทียบระบบสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดและแบบต่อเนื่อง
การตรวจนับสินค้า (Physical inventory count) จะทำ เมื่อถึงสิ้นงวดบัญชี สินค้าจะถูกนับ ชั่งหรือวัด และนำ ปริมาณมาคูณกับต้นทุนต่อหน่วยเพื่อหามูลค่าสินค้า เปรียบเทียบระบบสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดและแบบต่อเนื่อง รายการหรือเหตุการณ์ ระบบสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด ระบบสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง  * ซื้อสินค้าหลายชนิด บันทึกมูลค่าสินค้าทั้งหมดโดย จะเปิดบัญชีแยกประเภทย่อยสำ เดบิตบัญชีซื้อโดยไม่ต้องคำนึงถึง หรับสินค้าแต่ละชนิดพร้อมกับมี สินค้าแต่ละชนิดที่ซื้อ บัญชีคุมยอดสินค้าสำหรับยอด ทั้งหมด *เมื่อนำ สินค้าไปใช้ในการผลิตไม่มีการบันทึกบัญชี จะเครดิตในบัญชีแยกประเภท ย่อยสินค้าแต่ละชนิด (รวมทั้ง- บัญชีคุมยอดสินค้า) และเดบิต บัญชีงานระหว่างทำ

17 รายการหรือเหตุการณ์ ระบบสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด ระบบสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง
*สิ้นงวดบัญชี ตรวจนับปริมาณสินค้าคงเหลือ ไม่จำ เป็นต้องตรวจนับสินค้า ณ วันสิ้นงวดพร้อมกับตีราคา เพื่อคำนวณต้นทุนสินค้าขาย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องทำก่อน สำหรับงวด แต่กิจการมักตรวจ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการคำนวณ นับสินค้าเพื่อยืนยันความถูกต้อง ต้นทุนสินค้าขายสำ หรับงวด ของระบบสินค้าคงเหลือแบบ รายการปรับปรุงเพื่อคำนวณ ต่อเนื่องและคำนวณหายอด ต้นทุนสินค้าขาย (Cost of goods สินค้าที่ขาดหรือเกิน sold-CGS) ใช้สูตรดังนี้ CGS = สินค้าต้นงวด + ซื้อ – สินค้าปลายงวด

18 การตีราคาสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุน
กล่าวถึงราคาทุนของสินค้า (Inventory Costs) สำหรับกิจการที่ซื้อสินค้ามาขาย ราคาทุนของสินค้านั้นจะได้แก่ ราคาสินค้านั้น รวมค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมเกี่ยวกับการซื้อและการขนส่งจนสินค้านั้นเข้ามาอยู่ในร้านพร้อมที่จะขายได้ ในกิจการที่ผลิตสินค้าขึ้นเองเพื่อจำหน่าย ราคาทุนของสินค้าที่ผลิตประกอบด้วยวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ค่าแรงงานโดยตรงในการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อันเกี่ยวกับการผลิตสินค้านั้น หรืออีกนัยหนึ่ง คือต้นทุนผลิตสินค้า ( Cost of Goods Manufactured)

19 “ ต้นทุนสินค้าคงเหลือ”
ตามที่กำหนดในมาตรฐานการบัญชีโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย มิถุนายน 2546 มีดังนี้ ต้นทุนสินค้าคงเหลือประกอบด้วยต้นทุนทั้งหมดในการซื้อ ในการแปลงสภาพ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้สินค้าคงเหลือนั้นอยู่ในสภาพที่เป็นอยู่ปัจจุบัน ต้นทุนในการซื้อประกอบด้วย ราคาซื้อ อากรขาเข้า และภาษีอื่น รวมทั้งค่าขนส่ง ค่าขนถ่าย และค่าใช้จ่ายอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบและบริการ

20 ส่วนลดการค้า (Trade Discount)
ส่วนลดการค้า หมายถึง ส่วนลดที่ผู้ขายลดให้จากราคาที่จัดพิมพ์ไว้ในรายการแสดงราคาสินค้า โดยที่ผู้ขายให้ส่วนลดเป็นอัตราร้อยละของราคาขาย การลดราคาสินค้าโดยวิธีนี้ ช่วยให้ผู้ขายไม่ต้องพิมพ์รายการแสดงสินค้าบ่อย ๆ ดังนั้นราคาสุทธิที่ซื้อขายกันจึงเป็นราคาขายหลังจากหักส่วนลดการค้าแล้ว และจะไม่มีการบันทึกบัญชีส่วนลดการค้าทั้งทางด้านผู้ซื้อและผู้ขาย

21 ส่วนลดเงินสด (Cash Discount)
ส่วนลดเงินสด หมายถึง ส่วนลดที่ผู้ขายให้กับลูกค้าถ้าชำระหนี้ค่าสินค้าตรงตาม กำหนดเวลาที่ผู้ขายระบุไว้ ทางด้านผู้ขายจะเรียกว่า “ส่วนลดจ่าย” ส่วนทางด้านผู้ซื้อจะเรียกว่า “ส่วนลดรับ” เงื่อนไขการให้ส่วนเงินสดจะมีรูปแบบ ดังนี้ 2/10, n/30 หมายถึง ถ้าผู้ซื้อจ่ายชำระหนี้ภายใน 10 วันจะได้รับส่วนลด 2% แต่อย่างไรก็ตามต้องชำระหนี้ได้ไม่เกิน 30 วัน ซึ่งนับจากวันที่ลงในใบกำกับสินค้า 2/10, n/30, EOM หมายถึง หมายถึง ถ้าผู้ซื้อจ่ายชำระหนี้ภายใน 10 วันจะได้รับส่วนลด 2% แต่อย่างไรก็ตามต้องชำระหนี้ได้ไม่เกิน 30 วัน ซึ่งนับจากวันสิ้นเดือน

22 ค่าขนส่งสินค้า (Transportation Cost)
ค่าขนส่งสินค้า หมายถึง ค่าขนส่งที่จ่ายเพื่อเคลื่อนย้ายสินค้าจากคลังสินค้าของผู้ขาย ไปยังคลังสินค้าของผู้ซื้อ ในการขายสินค้าจะต้องมีการระบุเงื่อนไขในการรับผิดชอบค่าขนส่งว่าผู้ซื้อหรือผู้ขายจะเป็นผู้รับผิดชอบในการจ่ายค่าขนส่ง ซึ่งเงื่อนไขในการกำหนดค่าขนส่งมี ดังนี้ F.O.B. Shipping Point เงือนไขนี้กรรมสิทธิ์ในสินค้าจะโอนให้แก่ผู้ซื้อเมื่อผู้ขายส่งมอบสินค้าให้แก่บริษัทที่รับขนส่ง ดังนั้นผู้ซื้อจึงต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการจ่ายค่าขนส่ง ซึ่งเรียกค่าขนส่งนี้ว่า “ค่าขนส่งเข้า” F.O.B. Destination เงื่อนไขนี้กรรมสิทธิ์ในสินค้าจะโอนให้แก่ผู้ซื้อเมื่อผู้ขายส่งมอบสินค้าให้กับผู้ซื้อ ณ คลังสินค้าของผู้ซื้อ ดังนั้นผู้ขายจึงต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการจ่ายค่าขนส่ง ซึ่งเรียกค่าขนส่งนี้ว่า “ค่าขนส่งออก”

23 รับคืนและส่วนลด (Sale Return and Allowance)
ในการขายสินค้าบางครั้งลูกค้าอาจไม่พอใจในสินค้าที่ได้รับ อาจเนื่องมาจากสินค้าไม่ถูกต้องตามปริมาณ คุณภาพ และราคาที่กำหนดไว้ หรือสินค้านั้นชำรุดเสียหาย กิจการจะยอมรับสินค้าคืนจากลูกค้าและลดหนี้ให้แก่ลูกค้า หรือคืนเงินให้แก่ลูกค้า แต่ถ้าสินค้ามิได้ชำรุดเสียหายมากนักลูกค้าก็อาจจะยอมรับสินค้านั้นไว้ แต่ลูกค้าจะลดให้กิจการลดหนี้ให้ ส่งคืนและส่วนลด (Purchase Return and Allowance) ในบางครั้งเมื่อกิจการซื้อสินค้าจากผู้ขายแล้ว ถ้าสินค้าไม่ถูกต้องตามปริมาณ คุณภาพ และราคาที่กำหนดไว้ หรือสินค้านั้นชำรุดเสียหาย กิจการส่งสินค้าคืนให้แก่ผู้ขาย โดยที่ผู้ขายจะลดหนี้ให้ หรือคืนเงินให้แก่กิจการ แต่ถ้าสินค้ามิได้ชำรุดเสียหายมากนักกิจการก็อาจจะยอมรับสินค้านั้นไว้ แต่จะขอให้ผู้ขายลดหนี้ให้

24 การตีราคาสินค้าด้วยราคาทุน
1. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีถัวเฉลี่ย 2. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน 3. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีเข้าหลังออกก่อน 4. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีสินค้ามูลฐาน 5. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีเจาะจง 6. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับที่ต่ำกว่า

25 การตีราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีถัวเฉลี่ย
1. วิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่าย 2. วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 3. วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่

26 1. วิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่าย
การตีสินค้าด้วยวิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่ายสามารถคำนวนได้ง่ายโดยการนำราทุนต่อหน่วยของสินค้าคงเหลือต้นงวดและสินค้าที่ซื้อมาแต่ละครั้งในระหว่างงวดมารวมกันแล้วถัวเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 3.6 กิจการมีสินค้าคงเหลือต้นงวด จำนวน 2,000 หน่วย และซื้อสินค้าในระหว่างเดือนดังนี้ วันที่ ปริมาณ(หน่วย) ราคาต่อหน่วย(บาท) ราคารวม(บาท) 1( ต้นงวด) , ,000 , ,200 , ,800 , ,800 สินค้าที่มีเพื่อขาย , ,800 ราคาทุนถัวเฉลี่ยต่อหน่วย = ราคาทุนต่อหน่วยของสินค้ารวมกัน จำนวนงวด = 4 ราคาทุนถัวเฉลี่ยต่อหน่วย = บาท ถ้าสินค้าคงเหลือปลายงวดมีจำนวน 4,000 หน่วย กิจการจะตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดเท่ากับ 4,000 หน่วย ในราคาหน่วยละ 4.35 บาท สินค้าคงเหลือปลายงวด = 4,000 * 4.35 = 17,400 ต้นทุนขายคำนวณได้โดยนำราคาทุนถัวเฉลี่ยของสินค้าคงเหลือปลายงวดไปหักจากสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย สินค้าที่ทมีไว้เพื่อขาย = 46, บาท หักสินค้าคงเหลือปลายงวด = 17, บาท ต้นทุนขาย = 29, บาท

27 2. วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
วันที่ ปริมาณ(หน่วย) ราคาต่อหน่วย(บาท) ราคารวม(บาท) 1( ต้นงวด) , ,000 , ,200 , ,800 , ,600 สินค้าที่มีเพื่อขาย , ,800 ราคาถัวเฉลี่ยต่อหน่วย = ทุนรวมของสินค้าที่มีเพื่อขาย จำนวนหน่วย = ,800 11,000 = บาท ถ้าสินค้าคงเหลือปลายงวดมีจำนวน 4,000 หน่วย กิจการจะตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดเท่ากับ 4,000 หน่วยหน่วยละ 4.25 บาท สินค้าคงเหลือปลายงวด = 4,000 * 4.25 = 17,000 บาท ต้นทุนขายคำนวณไดด้ ดังนี้ สินค้าที่มีเพื่อขาย = 46,800 บาท หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด = 17,000 บาท ต้นทุนขาย = 29,800 บาท

28 3. วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่
ตัวอย่างที่ 3.8 ในระหว่างเดือน กิจการซื้อสินค้าสำเร็จรูปมาและจำหน่ายสินค้าไปตามลำดับ ดังนี้ วันที่ 1 สินค้าคงเหลือต้นงวด ,000 หน่วย ราคาหน่วยละ บาท 8 ซื้อสินค้าเพิ่มอีก ,000 หน่วย ราคาหน่วยละ บาท 15 ขายสินค้าไปจำนวน ,000 หน่วย ราคาหน่วยละ บาท 17 ซื้อสินค้าจำนวน ,000 หน่วย ราคาหน่วยละ บาท 22 ขายสินค้า ,000 หน่วย ราคาหน่วยละ บาท 28 ซื้อสินค้าจำนวน ,000 หน่วย ราคาหน่วยลพ บาท

29 วันที่ ซื้อ ขาย ยอดคงเหลือ 1 ( 2,000@4.00) = 8,000 (2,000@4.00) 8
( = 25,200 = 33,200 15 = 16,600 17 = 8,800 = 25,400 22 = 12,700 28 = 4,800 = 17,500

30 วิธีเข้าก่อน – ออกก่อน (FIFO)
ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือของกิจการมีดังนี้ ปริมาณ (หน่วย) ต้นทุนต่อหน่วย (บาท) ราคาทุนรวม ม.ค. 1 สินค้าคงเหลือยกมา 600 30 18,000 ก.พ. 6 ซื้อ 900 32 28,800 มิ.ย. 19 500 36 พ.ย. 30 200 39 7,800

31 ในระหว่างปีกิจการขายสินค้าคงเหลือไป ดังนี้
ปริมาณ (หน่วย) ราคารขายต่อหน่วย (บาท) ราคาขายรวม ม.ค. 2 300 40 12,000 เม.ย 10 700 42 29,400 ก.ย. 23 600 45 27,000

32 หากกิจการใช้วิธี Perpetual Inventory System
การคำนวณต้นทุนขาย และสินค้าคงเหลือ มีดังนี้ วันที่ ซื้อ ขาย ยอดคงเหลือ ม.ค. 1 ยอดยกมา = 18,000 ม.ค. 2 ซื้อ = 9,000 =9,000 ก.พ. 6 ซื้อ = 28,800 30 = 9,000 32 = 28,800 เม.ย. 10ขาย 32 = 12,800 32 = 16,000 มิ.ย. 19ซื้อ 36 = 18,000 ก.ย. 23ขาย 36 = 3,600 36 = 14,400 พ.ย. 30ซื้อ 39 = 7,800

33 หากกิจการใช้วิธี Periodic Inventory System
วิธีการคำนวณ สินค้าคงเหลือปลายงวด จำนวน หน่วย ซื้อ 30 พ.ย ,800 บาท ซื้อ 19 มิ.ย ,400 บาท รวม ,200 บาท ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด ,000 บาท บวก ซื้อ ,600 บาท สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย ,600 บาท หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด ,200 บาท ต้นทุนขาย ,400 บาท

34 วิธีเข้าหลัง – ออกก่อน (LIFO)
ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือของกิจการมีดังนี้ ปริมาณ (หน่วย) ราคาขายต่อหน่วย (บาท) ราคาขายรวม (บาท) ม.ค. 1 สินค้าคงเหลือยกมา 600 30 18,000 ก.พ. 6 ซื้อ 900 32 28,800 มิ.ย. 19 500 36 พ.ย. 30 200 39 7,800

35 ราคาขายต่อหน่วย (บาท)
ในระหว่างปีกิจการขายสินค้าคงเหลือไป ดังนี้ ปริมาณ (หน่วย) ราคาขายต่อหน่วย (บาท) ราคาขายรวม (บาท) ม.ค. 2 300 40 12,000 เม.ย. 10 700 42 29,400 ก.ย. 23 600 45 27,000

36 Perpetual Inventory System
การคำนวณต้นทุนขาย และสินค้าคงเหลือ รับ จ่าย คงเหลือ ม.ค. 1 ยอดยกมา 30 = 18,000 ม.ค. 2 ขาย 30 = 9,000 ก.พ. 6 ซื้อ 32 = 28,800 32 = 28,800 เม.ย. 10 ขาย 32 = 22,400 32 = 6,400 มิ.ย. 19 ซื้อ 36 = 18,000 36 = 1,8000 ก.ย. 23 ขาย 32 = 3,200 พ.ย. 30 ซื้อ 39 = 7,800

37 Periodic Inventory System
ต้นทุนขาย Periodic Inventory System วิธีการคำนวณมีดังนี้ สินค้าคงเหลือปลายงวด จำนวน 600 หน่วย สินค้ายกมาต้นงวด 600 18,000 บาท สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 72,600 บาท หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 18,000 บาท ต้นทุนขาย 54,600 บาท

38 วิธีสินค้ามูลฐาน สินค้าที่เป็นฐาน 100 หน่วย @ 20
วิธีสินค้ามูลฐาน  ตัวอย่างที่ 3.14 กิจการแห่งหนึ่งสินค้ากำหนดสินค้าที่เป็นมูลฐานให้มีจำนวน 100 หน่วย ราคาทุนหน่วยละ 20 บาท และใช้วิธีเข้าก่อนออกก่อนในการคิดราคาทุนของสินค้าส่วนที่เกินมูลฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกี่ยวกับกิจการ ในปี 25x1 – 25x3 มีดังนี้ สินค้าที่เป็นฐาน หน่วย @ 20 ซื้อระหว่างปี 25x1 ครั้งที่ ,000 21 ซื้อระหว่างปี 25x1 ครั้งที่ หน่วย @ 22 ขายระหว่างปี 25x ,750 หน่วย สินค้าคงเหลือ 31 ธ.ค 25x หน่วย ซื้อระหว่างปี 25x ,500 23 ขายระหว่างปี 25x ,570 หน่วย สินค้าคงเหลือ 31 ธ.ค 25x หน่วย ซื้อระหว่างปี 25x ,800 24 ขายระหว่างปี 25x ,650 หน่วย สินค้าคงเหลือ 31 ธ.ค 25x หน่วย

39 การตีราคาทุนของสินค้าคงเหลือปลายงวดในปี 25x1 – 25x3 ตามวิธีสินค้ามูลฐานจะเป็นดังนี้
สินค้าที่เป็นมูลฐาน = 2,000 บาท สินค้าส่วนที่เกินมูลฐาน = 1,100 บาท สินค้าคงเหลือปลายงวด 150 หน่วย = 3,100 บาท

40 สำหรับต้นทุนขายในปี 25x1 และปีต่อๆไป จะคำนวนในทำนองเดียวกันคือ นำสินค้าคงเหลือปลายงวดไปหักจากสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย ต้นทุนขายในปี 25x1 จะคำนวนได้ดังนี้ สินค้าที่เป็นมูลฐาน = 2,000 บาท บวก ซื้อระหว่างปี ครั้งที่ = 21,000 บาท บวก ซื้อระหว่างปี ครั้งที่ = 17,600 บาท สินค้าที่มีเพื่อขาย = 46,000 บาท หักสินค้าคงเหลือปลายงวด = 3,100 บาท ต้นทุนขาย = 37,500 บาท ปี 25x2 หักสินค้าส่วนที่ขาดไป = บาท สินค้าคงเหลือปลายงวด หน่วย = 1,520 บาท

41 วิธีเฉพาะเจาะจง (Specific)
ปริมาณ (หน่วย) ราคาขายต่อหน่วย (บาท) ราคาขายรวม (บาท) ม.ค. 1 สินค้าคงเหลือยกมา 600 30 18,000 ก.พ. 6 ซื้อ 900 32 28,800 มิ.ย. 19 500 36 พ.ย. 30 200 39 7,800

42 ในระหว่างปีกิจการขายสินค้าคงเหลือไป ดังนี้
ปริมาณ (หน่วย) ราคาขายต่อหน่วย (บาท) ราคาขายรวม (บาท) ม.ค. 2 300 40 12,000 เม.ย. 10 700 42 29,400 ก.ย. 23 600 45 27,000

43 Perpetual Inventory System
รับ จ่าย คงเหลือ ม.ค. 1 ยอดยกมา 30 = 18,000 ม.ค. 2 ขาย 30 = 9,000 ก.พ. 6 ซื้อ 32 = 28,800 32 = 28,800 เม.ย. 10 ขาย 32 = 22,400 32 = 6,400 มิ.ย. 19 ซื้อ 36 = 18,000 36 = 1,8000 ก.ย. 23 ขาย 36 = 14,400 36 = 3,600 พ.ย. 30 ซื้อ 39 = 7,800

44 Periodic Inventory System
สินค้าคงเหลือปลายงวด จำนวน 600 หน่วย ต้นทุนขาย สินค้ายกมาต้นงวด 300 30 9,000 บาท ซื้อ 19 มิ.ย. 100 36 3,600 บาท ซื้อ 30 พ.ย. 200 39 7,800 บาท รวม 20,400 บาท สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 72,600 บาท หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 20,400 บาท ต้นทุนขาย 52,200 บาท

45 การเปรียบเทียบราคาทุนกับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า สามารถเปรียบเทียบได้ 2 วิธีคือ
ตัวอย่างที่ 1 กิจการแห่งหนึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ ในวันที่ 31 ธันวาคม 25×1 ชนิดสินค้า ราคาทุน ราคาที่คาดว่าจะขายได้ ต้นทุนทำต่อจนเสร็จ A B C D E

46 1.การเปรียบเทียบราคาทุนกับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแต่ละรายการ (Item by – Item Method)

47 2.การเปรียบเทียบราคาทุนกับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับด้วยยอดรวม (Total Method)
สินค้าคงเหลือตามวิธีเปรียบเทียบรวมมีราคา 2,550.- บาท

48

49 จบแล้ว^^


ดาวน์โหลด ppt สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google