งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ Development of Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning to Enhance Research Competence and Critical Thinking Skills in ICT ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2

2 Jonathan Bergmann & Aaron Sams. (2010). The flipped classroom.

3 21st Century Student Outcomes & Support Systems
The Partnership for 21st Century Skills

4 กรอบแนวคิดการวิจัย การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม (Multicultural Education)
การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) และ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เครือข่ายสังคม (Social Media) คลาวด์เลิร์นนิง (Cloud Learning) การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

5 วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อศึกษาผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบสนับสนุน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ที่มีต่อสมรรถนะการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบสนับสนุน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ที่มีต่อทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสนสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ ๑๖คน เลือกแบบเจาะจง โดยเป็นนักศึกษาที่สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติแล้ว

7 ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคม และคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ ตัวแปรตาม สมรรถนะการวิจัย ทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

8 สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงมีผลการประเมินสมรรถนะ การวิจัยอยู่ในระดับดี นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงมีผลการประเมิน ทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ อยู่ในระดับดี

9 วิธีดำเนินการวิจัย

10 วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ สมรรถนะการวิจัย
การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ ออกแบบและพัฒนาระบบ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายสังคม คลาวด์เลิร์นนิง พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

11 วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ การพัฒนาระบบ
เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การสร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) การปรับเปลี่ยน (Conversion) การบำรุงรักษา (Maintenance) พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาเครื่องมือศึกษาผลการวิจัย แบบประเมินสมรรถนะการวิจัย แบบประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

12 วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ
พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง ปฐมนิเทศ ฝึกปฏิบัติ ขั้นการทดสอบผลการใช้ระบบ ดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 16 สัปดาห์ ประเมินสมรรถนะการวิจัย ประเมินทักษะการใช้สารสนเทศ อย่างมี วิจารณญาณ ประเมินพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

13 เครื่องมือที่ใช้การวิจัย
ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง แบบประเมินสมรรถนะการวิจัย แบบประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย

14 ผลการวิจัย

15 ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง
Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning Cloud Learning Management System (CLMS) Group Collaboration System via Social Networks Group Collaboration System via Cloud Learning การบริหารจัดการเรียน การสอน การนำเสนอเนื้อหา การติดต่อสื่อสาร และปฏิสัมพันธ์ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การติดตามพฤติกรรมผู้เรียน Publishing Module Sharing Module Discussing Module Networking Module Face book Google+ Twitter

16 ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง
CLMS Publishing Sharing Discussing Networking ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง

17 ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง มีผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยอยู่ในระดับดีมาก

18 ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง มีผลการประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ อยู่ในระดับดีมาก

19 ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการเรียนรู้และพฤติกรรมการใช้งาน Cloud Learning Management System ส่งผลในทางบวกกับพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษา

20 ข้อเสนอแนะ

21 ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้
สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่นำระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงไปใช้ สร้างเจตคติที่ดีต่อการใช้ระบบ ปฐมนิเทศเพื่อบอกแนวทางในการดำเนินกิจกรรม ฝึกทักษะการใช้เครื่องมือของเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ควรมีระบบพี่เลี้ยงหรือระบบการให้คำปรึกษาทางไกล และฐานความช่วยเหลือ เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยให้กรณีที่ผู้เรียนพบปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ

22 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ควรพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาทางไกลผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ปฐมนิเทศเพื่อบอกแนวทาง ในการดำเนินกิจกรรม ควรพัฒนาระบบพี่เลี้ยงหรือระบบการให้คำปรึกษาทางไกล และฐานความช่วยเหลือ เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเหลือ เมื่อผู้เรียนพบปัญหาและต้องการ ความช่วยเหลือ

23 กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา และศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่สนับสนุนการวิจัยครั้งนี้

24 การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ Development of Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning to Enhance Research Competence and Critical Thinking Skills in ICT ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2

25 ขอบคุณค่ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
หัวหน้าศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

26 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2
ขอบคุณค่ะ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google