ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNirund Narkhirunkanok ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
2
จุดเน้นของ สพฐ. ข้อ ๘ “ นักเรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ( ทุกคน ) มี ความพร้อม เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน มี ภูมิคุ้มกัน ต่อ การ เปลี่ยนแปลงในสังคมพหุ วัฒนธรรม (Multi-culture)
3
ให้มี ความพร้อม (readiness) อันดับแรก – สร้างความรู้ความเข้าใจ ( ที่ ถูกต้อง / ชัดเจน ) แก่ ร. ร.( ในขณะนี้ ) ได้ไม่มากก็ น้อย ( ต้องไปเพิ่มเติมเองอีก ครับ ) มีภูมิคุ้มกัน (immunity) ต่อ การเปลี่ยนแปลง ในสังคม พหุวัฒนธรรม ต้องเกิดจาก ( เป็นลำดับ )
4
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องชัดเจน ( ก่อน ) ( แล้ว ) ไป ออกแบบหลักสูตร ( รองรับ ) √ O.K. ก่อนอื่น เราต้องมีความเข้าใจ อะไรบ้างล่ะ ?
5
คำสำคัญ พัฒนา หลัก สูตร พัฒนา หมายถึงอะไร ? และขอถามท่านว่า ปัจจุบัน อะไร คือ “ หลัก ” อะไรบ้างคือ “ สูตร ” ?
6
เฉลย พัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ้น ดีขึ้น - คุณภาพ ( เพิ่มขึ้น ) แต่ต้องบอกให้ได้ว่า อะไรทำให้ ดีขึ้น ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรู้กัน !!!! ปัญหาของเรา ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่าย มอง “ คุณภาพ ” ไม่ตรงกัน !!!
7
หลัก ( ที่สำคัญ ) เช่น –Standard-based –Backward Design (Unit) –Learner-oriented –Authentic Assessment – และ ไม่ทราบมีอะไรอีกบ้าง ครับ ?
8
สูตร ตัวสำคัญเลย คือ “School- based” และมีอะไรอีกไหมครับ ? “ ประชาคมอาเซียน ” ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ประชาคมอาเซียน = ภาษา ( อังกฤษ ) !!!!
9
ประเด็นแรกที่ต้องรู้ อาเซียน ( ของเรา ) ก็มี วิสัยทัศน์ / อัตลักษณ์ (Shared vision/identity) แล้วมีไว้เพื่ออะไร ? ทำ อย่างไรต้องไปให้ถึง ? ๑๐ ประเทศ จะช่วยกัน อย่างไร ?
10
เราก็ต้องใช้ “ การศึกษา ” เป็นกลไกในการขับเคลื่อน นั่นเอง กลไกหลัก ก็คือ “ หลักสูตร ”(Curriculum/S yllabus)
11
( สูตร ) อาเซียน ในที่นี้ - “ สังคมพหุวัฒนธรรม ” สู่การบูรณาการ ระดับโครงสร้าง ( ก่อนเข้าสู่ ระดับชั้นเรียน ) หลักสูตรระดับห้องเรียน ( ราย วิชา, หน่วยการเรียนรู้ )
12
ขั้นตอนการเข้าสู่การเข้าใจ พหุวัฒนธรรม 1. การหา จุดยืน / อัตลักษณ์ ของแต่ละชาติ โดยการ สำรวจความเหมือน, ความ ต่าง, ความหลากหลาย, ความสัมพันธ์, ความสนใจ ของแต่ละชาติ
13
2. ร่วมสร้าง ความสำนึก, ให้เห็นคุณค่า, ความร่วมมือ, ความภาคภูมิใจ, ความเป็น เจ้าของร่วมกัน
14
กรอบการพัฒนา (Framework) เพื่อไปให้ถึง เป้าหมายใหญ่ข้างต้นอาจไม่ จำเป็นต้องทำพร้อมกัน ลำดับที่ ๑ เราควรเริ่มพัฒนาก่อน โดยจะใช้หลักนำ สาระหลัก (Themes) กับ เส้นทางการเรียนรู้ (Pathways) นำมาหาจุดตัด (Matrix)
15
๑.สาระหลัก ๕ themes คือ ๑. ๑ รอบรู้เกี่ยวกับอาเซียน ๑. ๒ การเห็นคุณค่า ความเป็น หนึ่ง / ความหลากหลาย ๑. ๓ การเชื่อมโยง โลกและ ท้องถิ่น
16
๑. ๔ ส่งเสริมความเสมอภาค / ความยุติธรรม ๑. ๕ การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคต ที่ยั่งยืน ๒. ๔ เส้นทางการเรียนรู้ (Pathways) ๒. ๑ คน ( ประชาชน ) ๒. ๓ แนวคิด ๒. ๒ สถานที่ ๒. ๔ สื่อ (materials)
17
สรุปง่ายๆก็คือ matrix ที่ เกิด จะไปตอบโจทย์เรื่อง “ การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่ เกิดขึ้น ในสังคมพหุ วัฒนธรรม ”( นั่นเอง )
18
Theme s Pathwa ys รอบรู้ อาเซียน เห็น คุณค่า ความ เป็นหนึ่ง เชื่อมโย งโลก และ ท้องถิ่น ส่งเสริม ความ เสมอ ภาค / ยุติธรรม ทำงาน ร่วมมือ กัน ยั่งยืน ประชาช น สถานที่ แนวคิด สื่อ
19
ร. ร./ ครูผู้สอน นำหลักของ จุดตัด (Matrix) ไปออกแบบ หลักสูตรต่อไป ตัวอย่างจุดที่นไปออกแบบ เริ่มได้ตั้งแต่ ในวิสัยทัศน์ ไป จนถึงในตัวหลักสูตร
20
ปรับ / แทรกในคำอธิบาย รายวิชา ปรับ / แทรกเป็นหน่วยการ เรียนรู้ สร้างรายวิชาเพิ่มเติม เป็นต้น โดยอาศัยตาราง วิเคราะห์ (Matrix) ใน ตัวอย่างต่อไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.