งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน
เพื่อการส่งออก

2 กลยุทธ์การบริหารทางการเงิน
หาแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ บริหารเงินทุนหมุนเวียนให้มีสภาพคล่อง จัดสรรเงินทุนให้เหมาะสมและถูกต้อง บริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ บริหารลูกหนี้ให้มีประสิทธิภาพ การบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 2

3 Cost of Project 3

4 ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ ความสามารถในการจ่ายหนี้
6 C’s สำหรับการเตรียมความพร้อมเข้าถึงแหล่งเงิน Country ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ Capacity ความสามารถในการจ่ายหนี้ Collateral หลักทรัพย์ค้ำประกัน Character ลักษณะผู้กู้ Capital เงินทุนส่วนออกเอง Condition เงื่อนไขการกู้เงิน 4

5 การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร
บุคคล CHARACTER คุณสมบัติของผู้กู้ CHARACTER โครงการ PROJECT ความสามารถในการหารายได้ CAPACITY ฐานะการเงิน CAPITAL สภาพแวดล้อม CONDITION ประเทศคู่ค้า COUNTRY หลักประกัน COLLATERALS หลักประกัน 5

6 ลูกค้าที่ธนาคารอยากปล่อยสินเชื่อ
- ไม่เป็น NPL - Credit Bureau - มีงบการเงินที่ดี - กำไรสุทธิ / กำไรสะสม - ทุนจดทะเบียน - อัตราส่วนหนี้ต่อทุน (D/E Ratio) - อัตราการเติบโตของยอดขาย - มีวัตถุประสงค์การกู้เงินที่ชัดเจน 6

7 ลูกค้าที่ธนาคารอยากปล่อยสินเชื่อ (ต่อ)
- มี Statement ที่ดี - มีเงินเข้าบัญชีครอบคลุมตัวเลขรายได้ทั้งหมด - มีที่มาที่ไปของค่าใช้จ่ายชัดเจน - เงินคงเหลือในบัญชีไม่ควรน้อยกว่าค่างวดหนึ่งเดือน มีประวัติการชำระเงินที่ดี * จ่ายครบถ้วนตามเงื่อนไข * จ่ายตรงตามกำหนด อยู่ในธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตดี มีหลักทรัพย์ที่เสนอเป็นหลักประกันคุ้มค่า 7

8 ประเภทของสินเชื่อ 1. สินเชื่อกู้ยืมระยะยาว (Long Term Debt)
ซื้อที่ดิน/ก่อสร้างอาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ซื้อเครื่องจักร อาจเป็น Housing loan ควบคู่กับ loan ทั่วไป 2. สินเชื่อสำหรับใช้หมุนเวียน / กู้ระยะสั้น (Working Capital) O/D , P/N , S/T , CBD (ขายลดเช็ค) 3. สินเชื่อเพื่อการออกหนังสือค้ำประกัน (Letters of Guarantees) 4. สินเชื่อเพื่อการส่งออก 8

9 สินเชื่อเพื่อการส่งออก
โดยปกติธนาคารจะเสนอวงเงินสินเชื่อสำหรับผู้ส่งออก โดยให้ผู้ส่งออกการนำเอกสารมายื่นประกอบการขอกู้กับธนาคาร แบ่งออกเป็นสองประเภท การให้สินเชื่อก่อนการส่งออก (Pre-Shipment) เอกสารประกอบการขอทำ Packing Credit เช่น L/C หรือสัญญาซื้อขายหรือคำสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศ หรือใบรับรองคลังสินค้า หรือใบรับจำนำสินค้า การให้สินเชื่อหลังการส่งออก (Post-Shipment) เอกสารประกอบการขอกู้ ได้แก่ Bill of Exchange ผู้ส่งออกและ/หรือผู้ผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เพื่อการส่งออกจะออกตั๋วสัญญาใช้เงินและสัญญาจะใช้เงิน ให้ไว้กับธนาคาร จำนวนเงิน และระยะเวลาในการขอสินเชื่อเป็นไปตามเอกสารประกอบ แต่สูงสุดไม่เกิน 180 วัน 9

10 ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ
1. วงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคาร จำนวนเพียงพอ ประเภทของวงเงินสินเชื่อมีความเหมาะสม (L/T, W/C, L/G) 2. อัตราดอกเบี้ย ให้พิจารณา อัตราดอกเบี้ยสุทธิที่ได้รับอนุมัติ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (MLR, MOR, MRR) *อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงต่างสถาบันการเงินกันไม่จำเป็นต้องเท่ากัน Spread (ส่วนบวก / ส่วนต่าง) ระยะเวลาที่ให้อัตราดอกเบี้ย * ในกรณี L/G หรือ L/C จะมีค่าใช้จ่ายเป็นค่าธรรมเนียม 10

11 ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ)
3. ระยะเวลาที่ให้เงินกู้ - วงเงินกู้ระยะยาว ระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ (3, 5, 7, 10,15 ปี) ระยะเวลาปลอดการจ่ายชำระเงินต้น (Grace Period) - วงเงินกู้เงินทุนหมุนเวียน ระยะเวลาการให้สินเชื่อในวงเงินแต่ละประเภท 11

12 ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ)
4. ค่าใช้จ่ายต่างๆในการขอสินเชื่อ - ค่าธรรมเนียมการจัดหาเงินกู้ (Front End Fee) ปกติ 0.5%-2% - ค่าประเมินหลักทรัพย์ - ค่าใช้จ่ายในการจำนอง (1%) - ค่าใช้จ่าย (ค่าปรับ) ในการย้ายธนาคาร (Penalty Fee) - ค่าธรรมเนียมค้ำประกันของ บสย. (1.75%) 12

13 ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ)
5. หลักทรัพย์ที่นำมาเป็นหลักประกัน - ที่ดิน (ต้องมีทางเข้าออกและติดทางสาธารณะประโยชน์) - สิ่งปลูกสร้าง (ที่มีใบอนุญาตก่อสร้าง) - ห้องชุดอาคาร - เครื่องจักรอุปกรณ์ (ที่มีการจดทะเบียนและจำนองเป็นหลักประกัน) - เงินฝาก / พันธบัตร - สิทธิการรับเงินค่างวดงานตามสัญญาจ้าง - สิทธิการเช่าที่ดินที่จดทะเบียนเช่าและโอนสิทธิการเช่าให้ทางธนาคาร - ตราสารทางการค้า : เช็คการค้า / ตั๋วแลกเงิน - สินค้าคงคลัง (ธุรกิจค้าส่งพืชไร่ : ข้าว, ข้าวโพด) -หนังสือค้ำประกันบสย. 13

14 ใครบ้างที่เราช่วยเหลือ การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร ขั้นตอนการติดต่อ
บสย. คืออะไร ใครบ้างที่เราช่วยเหลือ การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร ขั้นตอนการติดต่อ 14

15 “พระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534”
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อ 30 ธ.ค. 34 ตาม “พระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534” โครงสร้างผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ณ.มิ.ย เท่ากับ 6, ล้านบาท กระทรวงการคลัง (95.49%) ธนาคารพาณิชย์ (2.6%) ธนาคารออมสิน (0.94%) ธนาคารกรุงไทย (0.62%) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (0.18%) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (0.18%) 15

16 แนวคิดในการช่วยเหลือให้ SMEs กู้เงินจากสถาบันการเงินได้
ง่าย ถูก 16

17 อัตราดอกเบี้ย (% ต่อปี) ระดับความเสี่ยงของ SMEs แต่ละราย
บสย. เร่งกระจายสินเชื่อให้ SMEs ส่งผลให้การพัฒนา SMEs และการจ้างงาน บรรลุเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล SMEs ไม่มีหลักประกันทำให้ได้รับสินเชื่อไม่พอกับความต้องการ อัตราดอกเบี้ยที่แหล่งเงินกู้นอกระบบเก็บจากลูกค้า อัตราดอกเบี้ย (% ต่อปี) 20 อัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินเก็บจากลูกค้า + ค่าค้ำประกันเงินกู้ 15 10 อัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินเรียกเก็บจากลูกค้า 5 LOW ระดับความเสี่ยงของ SMEs แต่ละราย MEDIUM HIGH 17

18 ตัวอย่างการค้ำประกัน SMEs ต้องการกู้ 1 ล้านบาท
มีหลักประกัน 6 แสนบาท ขาดหลักประกัน 4 แสนบาท บสย. ค้ำประกัน 4 แสนบาท ค่าธรรมเนียม 400,000 * 1.75 % = 7,000 บาท / ปี *กรณีนี้ค่าธรรมเนียม/เงินกู้ 1 ล้านบาท = 0.7% 18

19 การช่วยเหลือ SMEs ที่ผ่านมา
19

20 โครงการค้ำประกันสินเชื่อของ บสย.
ผู้ประกอบการใหม่ PGS Start-up ผู้ประกอบการทั่วไป PGS5 ปรับปรุงประสิทธิภาพPGS PIL 20

21 ผลิตภัณฑ์การค้ำประกันสินเชื่อของ บสย. ที่สนับสนุน SMEs ปี 2556 – 2558
PGS 5 วงเงิน 240,000 ล้านบาท PGS PIL วงเงิน 20,000 ล้านบาท PGS Start up วงเงิน 10,000 ล้านบาท ผู้ประกอบการใหม่ อายุกิจการไม่เกิน 3 ปี ผ่านการฝึกอบรมหรืออยู่ระหว่างการอบรมจากหน่วยงานที่ บสย. เห็นชอบ วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท/ราย/สถาบัน ค่าธรรมเนียม 2.5% ต่อปี (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมเนียมให้) ผู้ประกอบการทั่วไป วงเงินไม่เกิน 40 ล้านบาท/ราย/สถาบัน ค่าธรรมเนียม 1.75% ต่อปี ปรับปรุงประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการทั่วไปที่ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพ วงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท/ราย ค่าธรรมเนียม 1.75% ต่อปี (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมเนียมให้) 21

22 ผู้ประกอบการใหม่ (PGS Start-up)
ประกอบกิจการไม่เกิน 3 ปี วงเงินค้ำประกัน 10,000 ล้านบาท (2 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 2.50 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน (Free ค่าธรรมเนียมปีแรก) ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 ผ่านการอบรม หรืออยู่ระหว่างการฝึกอบรม หลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ เช่น การจัดการ, การตลาด, การบัญชี และการผลิต จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานอื่นที่ บสย. เห็นชอบ 22

23 ผู้ประกอบการทั่วไป (PGS 5)
ผู้ประกอบการทั่วไปที่หลักประกันไม่พอ วงเงินค้ำประกัน 240,000 ล้านบาท (40 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 1.75 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 คุณสมบัติ เป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล สัญชาติไทย ทรัพย์สินถาวรสุทธิไม่เกิน 200 ล้านบาท (ไม่รวมที่ดิน) จุดเด่น ดำเนินธุรกิจต่างประเทศได้ 23

24 ปรับปรุงประสิทธิภาพPGS PIL
ผู้ประกอบการทั่วไปที่ต้องการปรับปรุงเครื่องจักรและกระบวนการการผลิต วงเงินค้ำประกัน 20,000 ล้านบาท (5 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 1.75 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน (Free ค่าธรรมเนียมปีแรก) ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี - เครื่องจักร 7 ปี - กระบวนการทำงาน 5 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 24

25 โครงการค้ำประกันสินเชื่อของ บสย.
PGS Start-up PGS5 PGS PIL วงเงินโครงการ 10,000 ล้านบาท 240,000 ล้านบาท 20,000 ล้านบาท กลุ่มเป้าหมาย SMEs ที่เริ่มกิจการใหม่ และมีอายุกิจการไม่เกิน 3 ปี SMEs ทั่วไป เพื่อช่วยเหลือ SMEs ที่ต้องการปรับปรุงเครื่องจักรและกระบวนการผลิต วงเงินค้ำประกัน/ราย/สถาบันการเงิน ไม่เกิน 2 ล้านบาท ไม่เกิน 40 ล้านบาท ไม่เกิน 5 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมการค้ำประกัน /ปี 2.5% (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมให้) 1.75% 1.75% (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมให้) เงื่อนไขโครงการ อายุกิจการไม่เกิน 3 ปี ผ่านการฝึกอบรมหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อเข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ (หลักสูตรต้องมีเนื้อหาวิชาครอบคลุม 4 เรื่อง ประกอบด้วย การจัดการ การตลาด การบัญชี และการผลิต) - SMEs ต้องมีการปรับปรุงเครื่องจักร หรือกระบวนการทำงาน ผ่านเงื่อนไขการให้สินเชื่อโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) ของ ธพว. วันสิ้นสุดโครงการ 31-ธ.ค.-58 31-ธ.ค.58 ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ทุกธนาคารที่ร่วมลงนาม MOU โครงการเฉพาะ SMEs Bank 25

26 ขั้นตอนการติดต่อ 1.ยื่นคำขอสินเชื่อ 2.ยื่นคำขอค้ำประกัน
3.ให้หนังสือค้ำประกัน 4.ให้สินเชื่อ 26

27 Bangkok and Greater Bangkok
ติดต่อ บสย. Call center สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ : สำนักงานสาขากรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : ต่อ สำนักงานสาขาพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ : ต่อ 9765, สำนักงานสาขาเชียงใหม่ โทรศัพท์ : , สำนักงานสาขาพิษณุโลก โทรศัพท์ : สำนักงานสาขาอุดรธานี โทรศัพท์ : สำนักงานสาขานครราชสีมา โทรศัพท์ : สำนักงานสาขาชลบุรี โทรศัพท์ : สำนักงานสาขาสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : สำนักงานสาขาสงขลา โทรศัพท์ : Chiang Mai Phitsanulok UdonThani Nakhon Ratchasima Chonburi Ayutthaya Suratthani Songkhla Bangkok and Greater Bangkok 27

28


ดาวน์โหลด ppt แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google