ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKantapol Nitpattanasai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
ท่าเรือน้ำลึกระยะที่ 1 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ : ท่าเทียบเรือสินค้าคอนเทนเนอร์ จำนวน 3 ท่าความยาว 750 ม. เทียบเรือขนาด Post Panamax ได้ 2 ลำ ความลึกร่องน้ำเดินเรือที่ระดับ –14.0 ม. จากระดับน้ำทะเลต่ำสุด หรือ ม.รทก. พื้นที่ท่าเรือ และลานกองตู้ได้จากการถมทะเลมีขนาด 430 x 1,086 ม. หรือประมาณ 292 ไร่ สะพานคสล.ขนาด 4 ช่องจราจร ความยาวประมาณ 4.3 กม.เชื่อมพื้นที่ท่าเรือกับชายฝั่ง เขื่อนหินทิ้งกันคลื่น ความยาว 1,700 ม. โครงการ 2ล้านล้าน
2
ขนาดเรือสายต่าง ๆ และการออกแบบ
ในเอเชีย (Intra-Asia) เอเชีย-แอฟริกา ตะวันออกกลาง เอเชีย-ยุโรป Class เรือ Panamax Post-Panamax TEU 1,000-1,500 3,000-3,500 5,500-6,000 DWT 25,000-30,000 40,000 65,000-70,000 ความยาว (ม) 250 กินน้ำลึก (ม) 10-11 13.5 ความกว้าง (ม) 27-28 32.3 40 จำนวนแถวตู้ 11 13 16 ขนาดเรือ ที่ใช้ออกแบบขนาด Post – Panamax ยาว (L) 280 ม. กว้าง (W) 40 ม. ลึก (D) 13.5 ม. และขนาดเรือขนาดกลาง (intra-Asia) ยาว (L) 180 ม. กว้าง (W) 28 ม. ลึก (D) 11.0 ม.
3
ออกแบบความลึกหน้าท่าและร่องน้ำเดินเรือ
ระยะแรก ระยะต่อไป เรือกินน้ำลึกสูงสุด (ม) ระยะเผื่อใต้ท้องเรือ (ม) (10 %) รวมความลึก (ม) ระดับขุดลอก LLW MSL
4
ออกแบบความกว้างร่องน้ำ
เดินทางเดียว (ระยะแรก) เดินสองทาง (ระยะต่อไป) UNCTAD 5B 5 X 40 = 200 7B + 30 ม. 7 x = 310 ม. Port Standard Japan 0.5 LOA 0.5 x 280 = 140 ม. 1.0 LOA 280 ม. ออกแบบ 180 ม. 300 ม. ออกแบบความกว้างแอ่งกลับลำเรือ ความกว้างแอ่งกลับลำเรือ = 2 L = 2 x 280 = 560 ม. , ออกแบบ 600 ม.
5
แนวร่องน้ำเดินเรือระยะแรก
งานขุดลอก (Dredging Work) งานขุดลอกรวม 9.98 ล้านลูกบาศก์เมตร งานบำรุงรักษาร่องน้ำ 0.58 ล้านลูกบาศก์เมตร/4ปี Pakbara port แนวร่องน้ำเดินเรือระยะแรก Entrance Channel (-14 LLW) Turning Basin 600 m.
6
ออกแบบหน้าท่าเทียบเรือสินค้าตู้
ความยาว : 750 ม. 1. เทียบเรือ Post – Panamax 2 ลำ = 650 ม. 2. เทียบเรือ Post – Panamax 1 ลำ + ขนาดกลาง 2 ลำ = 750 ม. ออกแบบขนาด Crane หน้าท่า เรือขนาด Post – Panamax กว้าง 40 ม. (16 แถว) ความยาวแขนเครน = ม. (รางเครนถึงหน้าท่า) ม. (ความหนายางกันกระแทก) = 44.5 ม. ความกว้างรางเครน = ม.
7
การออกแบบผังท่าเรือ ผังทั่วไปของท่าเรือ
ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม. ผังทั่วไปของท่าเรือ
8
ผังลานคอนเทนเนอร์และหน้าท่าเทียบเรือ
ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ผังลานคอนเทนเนอร์และหน้าท่าเทียบเรือ
9
ผังพื้นที่สนับสนุนท่าเรือ
ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม.
10
ทัศนียภาพท่าเรือ ลานกองตู้ อาคารสินค้า เขื่อนกันคลื่น
11
ทัศนียภาพการพัฒนาท่าเรือน้ำลึกระยะที่ 1 และอาคารต่างๆ ในกิจกรรมท่าเรือน้ำลึก
12
ติดตั้งหอเตือนภัยสินามิ อาคารปฏิบัติการหน้าท่า
13
ออกแบบหน้าท่าเทียบเรือสินค้าตู้
LLW -14.00 -14.00 -14.85 รูปตัดโครงสร้างหน้าท่าเรือน้ำลึก
14
ท่าเรือบริการ LLW
15
การออกแบบคันหินถมทะเล (revetment)
LLW LLW
16
การออกแบบเขื่อนกันคลื่น
ออกแบบไว้ให้กันคลื่นจากทิศใต้ และตะวันตกเฉียงใต้เป็นหลัก เนื่องจากด้านตะวันตกมีเกาะเขาใหญ่ และเกาะลินเต๊ะเป็นแนวกำบังคลื่นลมอยู่แล้ว เขื่อนกันคลื่นมีความยาว 1,700 เมตร LLW เขื่อนกันคลื่น
17
การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ
ความยาว 4,300 เมตร เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 4 ช่องจราจร (เข้า 2 ออก 2) ไม่มีไฟแดง
19
จุดเชื่อมท่าเรือกับถนน ตอนออกจากท่าเรือเป็นสะพานยกระดับ ไม่มีไฟแดง
การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ
20
การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ
สะพานปกติสูงจากน้ำขึ้น 2 เมตร(MHWS) หรือ 3.40 เมตร(MSL) ช่วงเสาห่าง 30 เมตร สะพานช่องลอดเรือสูงจากน้ำขึ้น 5.56 เมตร (MHWS) หรือ 6.90 เมตร(MSL) กว้าง 50 เมตร
21
การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ
LLW รูปตัดสะพาน 4 เลน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.