ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChuchai Wattana ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
เอกสารประกอบการอบรม กระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 23/03/54 การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem ) ดร.สุธาสินี บุญญาพิทักษ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ผศ.กรุณา แดงสุวรรณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา อ.ดร.สุธาสินี บุญญาพิทักษ์และ ผศ.กรุณา แดงสุวรรณ
2
ความสำคัญของการวิจัยต่อการพัฒนา
กิจกรรมพัฒนาปัญญาเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของมนุษย์ ปรับปรุง พัฒนาวิถีการดำรงชีวิตด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม
3
“การทำวิจัยจะช่วยพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน”
4
การวิจัยด้านต่างๆในประเทศ
เกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การแพทย์และสาธารณสุข การปกครองและกฎหมาย คุณภาพชีวิตและสังคม พัฒนาศักยภาพของคนและการศึกษา
5
จุดอ่อนของการวิจัยในมิติเดิม
ตั้งโจทย์ โดยนักวิชาการ หน่วยงาน มุ่งทดสอบทฤษฎี หาคำตอบที่นักวิชาการบางกลุ่มสนใจ คนนอกเข้าสู่ชุมชนเพื่อวิจัยวางแผนกำหนดนโยบาย ผลงานวิจัยมักมีข้อสงสัยในการนำไปใช้แก้ปัญหาหรือใช้ประโยชน์กับชุมชน คนส่วนใหญ่ ขาดการคำนึงถึงความต้องการแท้จริงของชุมชนในการคลี่คลายปัญหา
6
การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยในมิติใหม่ การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
7
โจทย์ ข้อมูลและประสบการณ์ จากพื้นที่ ชุมชน
ข้อมูลและประสบการณ์ จากพื้นที่ ชุมชน โครงการวิจัยของท้องถิ่นเป็นเครื่องมือ ขับเคลื่อน ร่วมใช้ปัญญา สังเคราะห์องค์ความรู้ นโยบาย การผลักดันสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายระดับต่างๆ ปัญหาคลี่คลาย ชาวบ้านได้ประโยชน์
8
ความหมายการวิจัย การวิจัยที่แท้จริงเป็นการแสวงหาคำตอบที่เป็นระบบเปิด ...และเรื่องของการพัฒนาจะต้องตั้งโจทย์ที่เป็นระบบเปิด นอกจากเข้าใจปัญหา และมองแนวทางในการแก้ปัญหา...เราก็มีโจทย์วิจัยซึ่งได้ชี้ช่องทางให้เราเห็นถึงแนวทางการพัฒนา ที่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของท้องถิ่นโดยเฉพาะ (เสน่ห์ จามริก )
9
โจทย์วิจัย/ปัญหาวิจัย (Research problem )
ความหมาย ประเด็น ข้อสงสัยหรือคำถามที่ผู้วิจัย(คนในชุมชน)มีต่อปรากฏการณ์ (ของท้องถิ่นในประเด็นที่สนใจ)และต้องการแสวงหาคำตอบให้ถูกต้องตรงกับสภาพความเป็นจริงในปรากฏการณ์นั้น ด้วยกระบวนการวิจัย
10
หลักการสร้างโจทย์วิจัยทางสังคมศาสตร์
ต้องมีปัญหา ข้อสงสัยที่ต้องหาคำตอบ หรือมีความต้องการองค์ความรู้เพิ่มเติม อันเป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน มีข้อมูล กระบวนการที่น่าเชื่อถือสนับสนุนโจทย์วิจัย มีการกำหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการทำวิจัยที่สอดรับกับโจทย์วิจัย
11
จุดเริ่มต้นงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
เชื่อมั่นในศักยภาพคนในชุมชน เป็นผู้แก้ปัญหาและสามารถใช้กระบวนการวิจัยได้
12
จุดเริ่มต้นงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
งานพัฒนา ประเด็นความเร่งด่วนของท้องถิ่น ประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข โจทย์วิจัย โครงการวิจัย ผลวิจัยและการใช้ประโยชน์
13
กระบวนการวิจัย ร่วมคิด วิเคราะห์ทบทวนสถานการณ์ ปัญหา สาเหตุของปรากฏการณ์ ตั้งคำถาม วางแผน หาทางเลือกวิธีการ ทดลองทำ (ยืดหยุ่น ปรับวิธีการ) เก็บข้อมูล วิเคราะห์ สรุปคำตอบ และ ถอดบทเรียน- ความรู้ เพื่อปรับปรุงงาน ท้องถิ่น
14
กระบวนการวิจัย(ต่อ) ค้นหาคำตอบอย่างเป็นระบบ ทำงานเป็นขั้นตอนจากการปฏิบัติจริง (Action research) คนเก่งในการแก้ปัญหาตนเอง ชุมชนเรียนรู้ เน้นกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ ทำให้คน /ชุมชนได้ประโยชน์โดยตรง
15
กระบวนการวิจัย(ต่อ) ค้นหาคำตอบอย่างเป็นระบบ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์จากทัศนะคนใน(Inside-out) วิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive research) วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)
16
ปรากฏการณ์ของท้องถิ่น
กระบวนการค้นหาโจทย์วิจัย ประเด็นปัญหา คำถามวิจัย ปรากฏการณ์ของท้องถิ่น กระบวนการวิจัย โดยคนในชุมชน บทเรียน ข้อสรุป ทางเลือกในการจัดการปัญหา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.