ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
2
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
รหัสวิชา ครูผู้สอน นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์ ติดต่อ ,
3
ตอนที่ 16 การพิมพ์ภาพ และนำภาพไปใช้บนเว็บ นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์ ติดต่อ ,
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถบอกคุณสมบัติและลักษณะการใช้งานของเครื่องพิมพ์แต่ละประเภทได้ 2. สามารถเลือกใช้กระดาษให้เหมาะสมสำหรับพิมพ์งานรูปแบบต่าง ๆ ได้
5
จุดประสงค์การเรียนรู้
3. สามารถกำหนดคุณสมบัติต่างๆ ให้กับงานพิมพ์ได้ สามารถสั่งพิมพ์งานออกสู่เครื่องพิมพ์ได้
6
จุดประสงค์การเรียนรู้
5. สามารถอธิบายฟอร์แมตของไฟล์ประเภทต่าง ๆ สำหรับเว็บกราฟิกได้ 6. สามารถแปลงภาพกราฟิกเพื่อนำไปประกอบบนเว็บได้
7
เตรียมพร้อมก่อนพิมพ์ภาพ
8
เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
เครื่องพิพม์กับงานกราฟิก เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
9
เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์
เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ เป็นเครื่องที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง โดยลักษณะการทำงานของ เครื่องจะใช้ แสงส่องเข้าไป เปลี่ยนประจุไฟฟ้า บนดรัมไวแสง (Photo-Sensitivedrum) ให้เข้มหรือจาง
10
เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์
โดยเมื่อกระดาษ ผ่านดรัมไป แท่งความร้อนภายในเครื่อง จะทำปฏิกิริยา ให้ผงหมึกใน โทนเนอร์ (Toner) เกิดการละลายเป็นจุดสีบริเวณที่มีประจุ
11
เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์
ซึ่งจะทำให้เกิด เป็นรูปภาพ ตัวหนังสือ ลงบนกระดาษ ซึ่งรายละเอียดของภาพ จะมีความคมชัด และมีคุณภาพสูง จึงเหมาะกับการพิมพ์รายการสินค้า หรือ ชิ้นงานที่ต้องการคุณภาพสูง เพราะสีที่ได้จากการพิมพ์ จะมีความ สวยงามเหมือนจริงมาก
12
เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์
13
เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ เป็นเครื่องที่ใช้หลักของการ พ่นหมึกสีผสมกัน จำนวน 4 สี คือ สีฟ้า สีม่วงบานเย็น สีเหลือง และสีดำ
14
เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
เพื่อจะทำให้เกิดการพิมพ์ภาพของชิ้นงาน โดยชิ้นงานที่ออกมา จะได้คุณภาพตามความต้องการ ที่สำคัญเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ จะมีราคาไม่แพง เมื่อเทียบกับ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์
15
เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
ในการพิมพ์ชิ้นงานด้วย เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต จะเหมาะสำหรับ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก งานตัวอย่าง และงานที่ไม่เน้นความละเอียดสูง เช่น นามบัตร สติ๊กเกอร์ ภาพถ่าย เป็นต้น
16
เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
17
กระดาษสำหรับพิมพ์งานกราฟิก
18
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก
กระดาษสำหรับเอกสาร (A4 ปอนด์ 80 แกรม)
19
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก
กระดาษสำหรับภาพถ่าย (Photo Paper)
20
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก
กระดาษสำหรับภาพถ่ายแบบมัน (Glossy Photo Paper)
21
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก ขนาดการ์ด (Photo Card)
กระดาษสำหรับภาพถ่าย ขนาดการ์ด (Photo Card)
22
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษลอกลายภาพลงบนผ้า
(Fabric Transfer Paper)
23
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก
กระดาษแบบสติ๊กเกอร์
24
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับพิมพ์เพลงด้วยตนเอง
25
กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับนำเสนองานเป็นแบบฟิล์มใส
26
ตรวจสอบคุณภาพ สีบนจอภาพก่อนพิมพ์
27
ตรวจคุณภาพสีก่อนพิมพ์
View > Proof Setup
28
ตรวจคุณภาพสีก่อนพิมพ์
View > Proof Setup
29
กำหนดคุณสมบัติก่อนพิมพ์
file > Page Setup
30
ตัวอย่างขนาดกระดาษที่เลือก
กำหนด ลักษณะกระดาษ กำหนด ระยะเว้นขอบการพิมพ์ กำหนด แนวการพิมพ์
31
กำหนดขนาดและตำแหน่งภาพ
file > Print Preview
32
การพิมพ์งานออกสู่เครื่องพิพม์
33
Format ของ ไฟล์ภาพกราฟิก
34
Format ของ ไฟล์ภาพกราฟิก
.gif .jpg .png
35
.gif เป็นไฟล์ที่ถูกบีบอัดให้เล็กลง ใช้กับรูปภาพที่ไม่ได้เน้นรายละเอียดสีที่สมจริง ไม่เหมาะกับภาพถ่าย จะเหมาะกับภาพการ์ตูน ภาพแนว vector มากกว่า เนื่องจากมีการไล่ระดับเฉดสีเพียง 256 สี
36
.jpg เป็นไฟล์ที่รู้จักกันดี มีคุณสมบัติในการบีบอัดขนาดไฟล์ได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งานบนเว็บไซท์ หรือ งานสิ่งพิมพ์ที่ไม่ได้เน้นคุณภาพของภาพมากนัก เป็นไฟล์ที่เหมาะสำหรับใช้ในภาพประเภทภาพถ่าย
37
.png เหมาะสำหรับใช้ในเว็บไซท์ สามารถบีบอัดขนาดไฟล์ลงได้พอสมควร โดยที่ยังรักษาคุณภาพของภาพเอาไว้ได้ และที่สำคัญสามารถเลือกระดับสีใช้งานได้ถึง 16 ล้านสี
38
เข้าสู่โปรแกรม Adobe Photoshop
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.