งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย

2 กลไกของรัฐ/องค์กรฯท้องถิ่น/ชุมชน/เอกชน
พันธกิจของกรมอนามัย วิจัย พัฒนาองค์ความรู้ กำหนดคุณภาพ/มาตรฐาน สนับสนุน/ถ่ายทอดความรู้ การจัดการเทคโนโยลี พัฒนานโยบาย/แผนงานหลัก พัฒนาระบบ&กลไกตามกฎหมาย สาธารณสุข ปฏิบัติการอื่นตามที่รับมอบหมาย ในขอบเขต * การส่งเสริมสุขภาพ * การอนามัยสิ่งแวดล้อม กลไกของรัฐ/องค์กรฯท้องถิ่น/ชุมชน/เอกชน ประชาชนมีสุขภาพดี

3 กรมอนามัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กอง/สำนัก ศกม. ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 กอง/สำนัก กอง/สำนัก ใช้มาตรการกฎหมาย บริการสาธารณะ ออกข้อกำหนดท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์/ชี้แจง ควบคุม/อนุญาต ตรวจตราดูแล/ออกคำสั่ง ดำเนินคดี พัฒนานโยบายสาธารณะ พัฒนาองค์ความรู้/ มาตรฐาน เฝ้าระวังสุขภาพ& สิ่งแวดล้อม ถ่ายทอด/พัฒนา บริการ ส่งเสริม สุขภาพ พัฒนากฎ/ ข้อบังคับ ประกันความเป็นธรรม สถานประกอบการ ได้มาตรฐาน/ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาด/ปลอดภัย เผยแพร่/ให้สุขศึกษา ประชาชน /ชุมชน มีความรู้/ป้องกันตนเอง รู้สิทธิ/หน้าที่/เรียกร้อง มีพฤติกรรมอนามัยดี เกิดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ประชาชน/ชุมชน มีสุขภาพดี อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี

4 ภารกิจของกรมอนามัยตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
สนับสนุน ราชการส่วนท้องถิ่น คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ปัจจัยเสี่ยง สิ่งปฏิกูล มูลฝอย สิ่งมีพิษอันเป็น เหตุรำคาญ ป้องกัน กลุ่มกิจการที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ

5 กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสาธารณสุข
พัฒนานโยบายสาธารณะ ออกกฎกระทรวง ออกประกาศกระทรวง รัฐมนตรี คณะกรรมการสาธารณสุข อุทธรณ์ ออกคำแนะนำ อธิบดีกรม อ.(เลขานุการฯ) จพง.สาธารณสุข (ศูนย์/สสจ./สสอ./สอ.) พบเหตุ ต้องแจ้ง ราชการส่วนท้องถิ่น จนง.ท้องถิ่น ผู้ได้รับการแต่งตั้ง จาก จพง.ท้องถิ่น ออกข้อกำหนดท้องถิ่น อนุญาต/ไม่อนุญาต ออกคำสั่งแก้ไข/หยุด /พักใช้/เพิกถอน ตรวจตรา/แนะนำ ป ร ะ ช า ช น / เ อ ก ช น / ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร

6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการตลาด สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ พิจารณาอนุญาต กิจการต่าง ๆ ออกคำสั่งให้ ปรับปรุง/ แก้ไข พักใช้/ หยุด เพิกถอน กรณี เหตุรำคาญ ผิดสุขลักษณะอาคาร ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ

7 องค์ประกอบการดำเนินงานกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม
เจ้าพนักงาน ตัวบทกฎหมาย ผู้ประ กอบการ ประชาชน วิถีประชา

8 ปัญหาการ บังคับใช้กฎหมาย
ตัวบทกฎหมาย ไม่มีบทบัญญัติ ไม่มีเกณฑ์ชี้วัด ที่ชัดเจน กฎหมาย ซ้ำซ้อน เจ้าพนักงาน ไม่มีความรู้ ไม่มั่นใจ ไม่มีทักษะ ไม่บังคับใช้ กลัวความ ขัดแย้ง ผู้ประกอบการ ประชาชน ไม่รู้กฎหมาย ไม่เข้าใจ เหตุผล ไม่รับผิดชอบ / หลบเลี่ยง ไม่รู้กฎหมาย / สิทธิตนเอง ไม่เรียกร้อง / ร้องเรียน ไม่มีส่วนร่วม

9 ตัวบทกฎหมาย ภาพในทศวรรษหน้า
(4) ต้องเน้น “นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ” และ “HIA.” มากขึ้น (3) ต้องเน้น “มาตรการกำกับดูแล” มากกว่า “มาตรการ ควบคุม” (1) ต้องกระจายอำนาจไปสู่ “ราชการส่วนท้องถิ่น” เพื่อแก้ปัญหา กฎหมายหลายฉบับ เพื่อให้เกิด “ONE STOP SERVICE” เพื่อให้เกิด “การมีส่วนร่วม” ของ ประชาชนในระดับท้องถิ่น (2) ต้องเน้นหลักการ “POLLUTER PAY PRINCIPLE” “ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่าย”

10 เจ้า พนักงาน เจ้า พนักงาน
ฝ่ายปกครอง ต้องวางระเบียบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน (ตามพรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง) ต้องมีความเสมอภาค / ยุติธรรม ต้องรับผิดชอบ / จริงจัง ต้องตรวจสอบได้ เจ้า พนักงาน เจ้า พนักงาน ฝ่ายวิชาการ ต้องพัฒนามาตรฐานหลักเกณฑ์ที่ เหมาะสม “appropriate technology” ต้องพัฒนาเครื่องมือ วิธีการตรวจวัด ต้องดึงให้ “ผู้ประกอบการ” มีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ต้องซื่อสัตย์ / ยุติธรรม / จริงจัง

11 ผู้ประกอบการ ประชาชน ต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย (กำกับดูแล)
ต้องมีจิตสำนึก รับผิดชอบต่อสังคม (มีหน่วยตรวจวัดของตนเอง) ต้องไม่ร่วมมือ/ ต่อสู้กับเจ้าพนักงานที่ทุจริต ต้องร่วมมือกับเจ้าพนักงานในการแก้ปัญหา ประชาชน ต้องรู้สิทธิ หน้าที่ ตามกฎหมาย ต้องมีส่วนร่วมในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เลือกสรรผู้บริหารท้องถิ่น ร้องทุกข์ / ร้องเรียน ตรวจสอบ / เฝ้าระวัง

12 ภารกิจของงานกฎหมายสาธารณสุข กฎหมายแม่บท
1. ออกกฎฯ /ประกาศฯ ระเบียบวิธีปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไข ให้เหมาะสม 2.ฝึกอบรมเจ้าพนักงาน 3. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์สู่ผู้ประกอบการ/ประชาชน 8. ศึกษาวิจัย/ ประเมินผล ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 4. ตอบข้อหารือ เกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามกฎหมาย เกิดการบังคับใช้กฎหมาย 7. ตรวจสอบ เรื่องร้องเรียน และการอุทธรณ์ 5. จัดทำโครงการสนับสนุนราชการส่วนท้องถิ่น 6. ติดตามนิเทศ งานกฎหมาย

13 การประสานงานกับจังหวัด/ ท้องถิ่น กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ.
กรมอนามัย สนง. ปลัดฯ กระทรวง สธ. กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ. กอง/ สำนัก สาย สวล. ศูนย์ กม. กสพ. ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 อบจ. สสจ. เมืองพัทยา สายบังคับบัญชา สสอ. เทศบาล นิเทศ/ สนับสนุน ส.อ. อบต.


ดาวน์โหลด ppt ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google