งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
สำนักการพยาบาล

2 กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
The Outcome Model for Health care Research เป็นการกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพในทุกมิติที่เป็นปัจจัยเกี่ยวข้องที่จะก่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ : Holezemer (1994)

3 มิติที่มีผลต่อผลลัพธ์
มิติผู้ใช้บริการ (Client) มิติผู้ให้บริการ (Provider) + แนวคิดเชิงโครงสร้าง มิติองค์กร (Setting)

4 ตารางแสดงความสัมพันธ์
Input Process Outcome Client Provider Setting

5 มิติผู้ใช้บริการ Input Process Outcome
ข้อมูลพื้นฐานต่างๆของผู้ใช้บริการ กิจกรรมหรือกระบวนการในการดำเนินชีวิต การป้องกันความเจ็บป่วย การดูแลตนเอง ผลลัพธ์สุดท้ายของการบริการ

6 มิติผู้ให้บริการ Input Process Outcome คุณลักษณะของผู้ให้บริการ
รูปแบบการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการดูแล / การให้บริการ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้ให้บริการที่ส่งผลถึงผลลัพธ์ของงาน

7 มิติองค์กร Input Process Outcome ปัจจัยการนำเข้าขององค์กร
กระบวนการบริหารจัดการภายในองค์กร ผลลัพธ์ของการดำเนินการองค์กร ผลลัพธ์ของการใช้ทรัพยากร / ปัจจัยนำเข้า ในภายรวมขององค์กร

8 ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล มี 10 ตัวชี้วัด 1. การผสมผสานอัตรากำลัง 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลต่อผู้ป่วยนอนในโรงพยาบาล 3. ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรพยาบาล 4. อัตราการเกิดแผนกดทับในโรงพยาบาล 5. อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล

9 ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล (ต่อ)
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล (ต่อ) มี 10 ตัวชี้วัด 6. ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. อัตราการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ 8. อัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลภายใน 28 วันโดย ไม่ได้วางแผน 9. ระดับความพึงพอใจของผู้ป่วย 10. ระยะเวลาวันนอนเฉลี่ยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล

10 ตารางแสดงความสัมพันธ์ตัวชี้วัดในโรงพยาบาล
Input Process Outcome Client Provider Setting 4 , 5 , 8 , 9 6 , 7 7 1 3 2 , 5 , 10

11 ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน มี 11 ตัวชี้วัด 1. อัตราส่วนพยาบาลวิชาชีพต่อบุคลากรสุขภาพอื่น 2. อัตราส่วนพยาบาลวิชาชีพต่อประชาชน 3. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ 4. ชั่วโมงการเยี่ยมบ้าน 5. ความครอบคลุมของการประเมินภาวะสุขภาพประชาชน 6. ภาวะสุขภาพครอบครัวในชุมชน

12 ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน (ต่อ)
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน (ต่อ) มี 11 ตัวชี้วัด 7. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเรื้อรัง 8. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในชุมชน 9. การเกิดแผนกดทับของผู้ป่วยที่บ้าน 10. การลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน 11. การพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่บ้าน

13 ตารางแสดงความสัมพันธ์ตัวชี้วัดในชุมชน
Input Process Outcome Client Provider Setting 7 ,8 , 9 , 11 6 1 , 2 5 ,9 ,10 ,11 3 1 , 2 3 4

14 ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) อัตราส่วน (Ratio)
ข้อมูลที่แสดงความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ ระหว่างจำนวนของเลขกลุ่มหนึ่ง กับ จำนวนของเลขอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์เดียวกันหรือเกี่ยวข้องกัน อัตรา (Rate) อัตราส่วนระหว่างเลขจำนวนหนึ่งกับเลขอีกจำนวนหนึ่งภายใต้ระยะเวลา/เหตุการณ์เดียวกันเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในช่วงนั้น แล้วปรับฐานให้เป็น 100 /1,000/10,000/100,000

15 ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) สัดส่วน (Proportion) ข้อมูลที่แสดงความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ ระหว่างจำนวนของเลขกลุ่มหนึ่ง กับ จำนวนของเลขอีกกลุ่มหนึ่ง โดยที่จำนวนเลขกลุ่มแรกนั้นเป็นส่วนหนึ่งหรือรวมอยู่ในจำนวนของเลขกลุ่มหลังด้วย

16 ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวนสิ่งของหนึ่งๆ
ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) จำนวน (Number) ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวนสิ่งของหนึ่งๆ

17 การเก็บตัวชี้วัดในชุมชน


ดาวน์โหลด ppt กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google