ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBundarik Meesang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
2
จัดทำโดย อาจารย์ที่ปรึกษา
นาย ชานน โตโพธิ์ไทย ม.4/1 เลขที่ 5 นาย ศรัณภัทร์ ภูริวัฒน์ ม.4/1 เลขที่16 นาย กรพัชร เพ็ชรพรประภาส ม.4/1 เลขที่ 23 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.วีรวัฒน์ หนองห้าง อ.ฐากูร ดุรงค์ภินนท์
3
ที่มาและความสำคัญ(1) ในปัจจุบันประเทศไทยถือเป็นประเทศที่มี การพัฒนาในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นในด้านการขนส่ง อุตสาหกรรม ด้านเทคโนโลยี รวมถึงด้านอื่นๆอีกมากมาย อย่างรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัฒน์ซึ่งปัญหาที่ตามมาก็ คือ “มลภาวะทางเสียง”ซึ่งเป็นปัญหาที่จะเกิดตามมากับ การพัฒนาสิ่งต่างๆเหล่านั้นไม่ว่าจะเป็นมลภาวะทางเสียง จาก การขนส่ง การก่อสร้างอุตสาหกรรมรวมไปถึงกลุ่ม คนซึ่งนับเป็นปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ----- Meeting Notes (12/24/12 15:16) ----- ไทยมีการพัฒนาด้านอุสาหกรรม
4
ที่มาและความสำคัญ(2) จากปัญหาข้างต้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงต้องการที่ จะศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติในการกันเสียงของวัสดุ ต่างๆที่หาได้โดยทั่วไปเพื่อที่จะเป็นข้อมูลในการ เปรียบเทียบคุณสมบัติการกันเสียงและซับเสียงของ วัสดุเหล่านั้นเพื่อเป็นแนวทางเลือกและข้อมูลแก่ บุคคลที่ต้องการจะศึกษาเพื่อนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อไป
5
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่าวัสดุชนิดใดมีคุณสมบัติในการ กันเสียงได้ดีที่สุด ในช่วงความยาวคลื่นที่ต่างกัน วัสดุใดกัน เสียงได้ดีกว่ากัน ----- Meeting Notes (12/24/12 15:44) ----- ยังเขียน ไม่ดี ควรมีข้อเดียว ในช่วงความยาวคลื่นที่ทต่างกัน เพื่อ ศิกษาไร ช่วย เปรียบเทียบสมบัติในความยาวคลื่นที่ต่างกัน
6
ตัวแปลที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น วัสดุที่นำมาทดลอง
ตัวแปรต้น วัสดุที่นำมาทดลอง ตัวแปรตาม ค่าความเข้มของเสียงที่ออกมา ตัวแปรควบคุม ความเข้มของเสียงจากลำโพง, เสียงที่ใช้ความหนาของวัสดุที่ทดลอง
7
ขอบเขตการศึกษา ศึกษาวิธีในการตรวจสอบการกันเสียงของวัสดุ ต่างๆโดยการใช้เครื่องวัดเสียง(Sound Level Meter)ที่แสดงหน่วยเป็น(db) ศึกษาชนิดของวัสดุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่า ความเข้มของเสียง
8
วัสดุและอุปกรณ์(1) 1.เครื่องวัดความเข้มของเสียง 2.ลำโพง
9
วัสดุและอุปกรณ์(2) 3.แอมป์ 4.เครื่องเล่นซีดี
10
วัสดุและอุปกรณ์(3) 5.กล่องผ้า 6.โฟม
11
วัสดุและอุปกรณ์(4) 8.ผ้าอัด 7.กระดาษแข็ง
12
วัสดุและอุปกรณ์(5) 9.ใยสังเคราะห์ 10.เสียง(ความถี่500Hz,1000Hz)
13
ทำไม ต้องใช้เสียง ความถี่ 500 Hz และ 1000 Hz ????
----- Meeting Notes (12/24/12 15:16) ----- เสียง เบส หาsorce ไม่เจอ แหลมหา ที่มาได้ดีกว่า เบส ย้าย ที่ได้เหมือนดูหนัง
14
วิธีการดำเนินการ(1) 1.ตัดวัสดุที่นำมาทดลองให้มีขนาดเท่ากัน
15
วิธีการดำเนินการ(2) 2.บุวัสดุที่ตัดมาในตอนแรกลงกล่อง
16
วิธีการดำเนินการ(3) 3.นำกล่องที่บุด้วยวัสดุที่ใช้มาครอบลงบนลำโพงโดยที่ตัว กล่องและลำโพงจะมีขนาดเท่ากันในเรื่องของความกว้าง ความยาว ความสูง
17
วิธีการดำเนินการ(4) 4.เปิดเสียงที่จากแอป์เข้าลำโพงโดยใช้เสียงที่ระดับความถี่ 500Hz ,1000Hzตามลำดับ
18
วิธีการดำเนินการ(5) 5.อ่านค่าที่ได้จากเครื่องวัดความเข้มของเสียง(Sound Level Meter)โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบล(db)
19
วิธีการดำเนินการ(6) 6.เปลี่ยนวัสดุที่ใช้บุและทำเหมือนเดิม
20
สรุปวิธีการดำเนินการ
ตัดวัสดุที่จะนำมาบุให้เท่ากัน บุวัสดุลงกล่อง เปลี่ยนวัสดุ นำกล่องที่บุเสร็จครอบลำโพง เปิดเสียง อ่านค่าความเข้มเสียงที่ได้
21
ประสิทธิภาพในการกันเสียง
ผลการทดลอง ชนิดของวัสดุที่บุ ระดับความดัง (เสียงที่ได้ยินจากหู) (500Hz)(db) (1000Hz)(db) ประสิทธิภาพในการกันเสียง กล่องเปล่า(ยังไม่ได้บุ) ยังชัดเจน 64.02 52.26 5 กระดาษแข็ง เบาลงมาก 62.86 44.62 4 ผ้าอัด ดังน้อยกว่ากระดาษแข็ง 60.25 46.83 2 ใยสังเคระห์ ปานกลาง 61.54 47.69 3 โฟม เบาสุด 53.51 50.60 1
22
กราฟแสดงผลการทดลอง 1 5 Control
23
สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองที่ได้จะเห็นได้ว่าวัสดุที่นำมาใช้ล้วนมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงค่าความเข้มของเสียงทั้งสิ้น โดยจากผลการทดลองที่ได้จะเห็นได้ว่า โฟมเป็นวัสดุที่สามารถกันเสียงได้ดี ทั้งคลื่นความถี่ 500Hz และ 1000 Hz สุดรองมาก็เป็น กระดาษแข็ง , ผ้าอัด , ใย สังเคราะห์ตามลำดับ
24
เอกสารอ้างอิง ผศ. .ปรียา อนุพงษ์องอาจ.2547.จ.กรุงเทพมหานคร.เสียง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: 1.htm.13มกราคม2547 ประเจียด ปฐมภาค.2550.จ.กรุงเทพมหานคร.การสั่นและคลื่นเสียง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: 21 มีนาคม2550
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.