ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDhipyamongkol Pradchaphet ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
2
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : 2553 - 2555 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงเรียนห้องเรียน วิทยาศาสตร์
3
วัตถุประสงค์ 1. เร่งรัดพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. สร้างฐานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 3. สนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์
4
เป้าหมาย พัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนที่มีความพร้อม ชั้นละ 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 30 คนต่อ ห้อง
5
ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ด้านตัวป้อน : นักเรียนทุกคนที่สมัครเข้าเรียน ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ มีระดับสติปัญญาใน กลุ่มฉลาดขึ้นไปผ่านการประเมินความสามารถทาง วิชาการด้วยเครื่องมือและกระบวนการที่มีคุณภาพ เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ด้านกระบวนการ : ระบบบริหารจัดการทั้งใน ด้านบุคลากร หลักสูตร สื่อ ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การเรียน การสอน สิ่งแวดล้อม มีคุณภาพ เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์
6
60 60 ด้านผลผลิต : นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ที่สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ของนักเรียนที่กำลังศึกษาไปศึกษาต่อด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เป็นนักวิจัยหลังสำเร็จ การศึกษา ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึง พอใจในผลการดำเนินงานของโรงเรียน
7
กิจกรรมการ พัฒนา 1. การพัฒนา โรงเรียน 1.2 มีการปรับและจัดทำหลักสูตรเฉพาะนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีการบูรณาการในทุกรายวิชาและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ชัดเจน มีวงจรหลักสูตรที่สามารถปรับให้สั้นลงเพื่อให้ทันและสอดคล้องกับ ความเจริญก้าวหน้า และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1.1 โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ แผนการดำเนินงาน มีเครื่องมือการคัดกรอง นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีหลักสูตรเฉพาะ และมีระบบ การส่งต่อ
8
1.3 มีสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่จะผลิตสื่อ การเรียน การสอน มีการใช้อินทราเน็ตช่วยในการเรียนการสอน 1.4 มีการพัฒนาครูให้รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และรู้จักการบูรณาการ วิธีการใช้สื่อ / อุปกรณ์ ได้รับการอบรมเทคนิควิธีการสอนแบบเน้น นักเรียนเป็นสำคัญ เน้นการสอนแบบมีส่วนร่วม มีโอกาสศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนกับโรงเรียนอื่น ๆ ที่มีศักยภาพได้มาตรฐาน ทั้งใน และนอกประเทศ
9
1.5 มีเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น ที่จะทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ร่วมกัน จัดทำแผนการอบรมครูแผนใหม่อย่างเป็นระบบ 1.6 มีการปรับการวัดและการประเมินผล โดยที่มีการทำข้อสอบ แบบอัตนัยมากขึ้น ลดข้อสอบแบบปรนัย มีการจัดทำข้อสอบกลาง ที่มีมาตรฐานเดียวกัน มีการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานทั้งทางด้าน หลักสูตร ครู การเรียนการสอน สื่อ - อุปกรณ์ และการประเมินผล 1.7 มี website เผยแพร่ความรู้ การดำเนินงาน ของโรงเรียน และนักเรียน
10
2. การพัฒนา นักเรียน 2.1 นักเรียนที่มีความสามรถพิเศษได้รับการแบ่งกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อนำมาพัฒนาเฉพาะด้าน ตรงตามศักยภาพ 2.2 นักเรียนมีโอกาสแสดงผลงาน / ประกวดแข่งขัน / สัมมนาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์เรียนรู้ของนักเรียน (symposium) 2.3 นักเรียนได้รับการสนับสนุนให้จัดทำโครงงาน / โครงการวิจัย
11
2.4 นักเรียนได้รับการสนับสนุนให้จัดทำโครงงาน / โครงงานวิจัย 2.5 นักเรียนได้รับการพัฒนาและได้รับการสนับสนุนในการเข้าแข่งขัน ประกวดระดับประเทศ ระดับชาติ
12
5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง 6. ร่วมมือและแลกเปลี่ยนวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7. ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมเสริม จัดทำโครงงานและฝึกงาน 3. สรรหาคนดี คนเก่ง มาเป็นบุคลากรของโรงเรียน 4. พัฒนาครูให้มีศักยภาพสูงขึ้น 1. พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการ เรียนรู้ และระบบ การบริหารจัดการเป็นการเฉพาะสำหรับ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ 2. พัฒนาและปรับปรุงและปรับปรุงเครื่องมือและกระบวนการสรรหา นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กลยุทธ์ในการ ดำเนินงานของ โรงเรียน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.