งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
โดย ยุวดี เพชระ 26 มีนาคม 2553 เวลา น. ณ ห้องฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ สำนักวิทยบริการ

2 ประเด็น? รูปแบบการจัดพิมพ์และการเขียนเอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม : คู่มือจัดทำวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น แหล่งสารสนเทศในการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ : แยกตามสาขาวิชา, เกณฑ์การตีพิมพ์, รายชื่อวารสารไทยที่ปรากฏใน Web of Science

3 คำถาม? เอกสารอ้างอิงเขียนอย่างไร? ถ้าจะทำวิจัยหรือมีแนวคิด/หัวข้อที่จะทำวิจัย มีรูปแบบอย่างไร? เอกสารอ้างอิงที่ทำไว้ ถูกต้องตามรูปแบบมาตรฐานหรือไม่? อย่างไร? ตรวจสอบรายการอ้างอิงท้ายเล่มได้หรือไม่? มีแหล่งวารสารใดที่จะนำผลงานวิจัยไปตีพิมพ์? ต้องการตรวจสอบค่า Impact Factor ของวารสาร ทำอย่างไร? มีวารสารไทยที่ปรากฏใน Web of Science หรือไม่? ทำอย่างไร?

4 การแนะนำแหล่งสารสนเทศในการการจัดพิมพ์หรือผลิตตำรา/วิจัย/วิทยานิพนธ์
แหล่งสารสนเทศในการจัดพิมพ์หรือผลิตตำรา/ผลงานวิชาการของอาจารย์ มข. รูปแบบการจัดพิมพ์ผลงาน องค์ประกอบและรูปแบบตำรา (แนวทางสำหรับการจัดพิมพ์: รูปแบบและองค์ประกอบของต้นฉบับตำราฉบับสมบูรณ์ สำหรับผู้รับทุนสนับสนุนการผลิตตำรา มหาวิทยาลัยขอนแก่น กองทุน 40 ปี พัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแก่น) ( ประกาศ ฯ (241 / 2550) เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ทุนสนับสนุนการผลิตตำรา พ.ศ.2550 ( รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิง ยึดคู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 2550 เป็นหลัก ข้อมูลจากเว็บไซต์ ฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ มข. ส่วนของ การสนับสนุนผลิตตำรา

5 แหล่งสารสนเทศในการสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานจาก มข.
การเบิกจ่ายเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่ผลงานวิจัย (60.49 KB)  ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 565/2549) เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสาร (71.40 KB)  ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 56/2550) เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสาร  (

6 การแนะนำแหล่งสารสนเทศในการการจัดพิมพ์หรือผลิตตำรา/วิจัย/วิทยานิพนธ์
แหล่งสารสนเทศในการจัดพิมพ์วิทยานิพนธ์ของนักศึกษา มข. รูปแบบการจัดพิมพ์และการเขียนเอกสารอ้างอิง ยึดคู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ 2550 เป็นหลัก ( บอกถึง แนวปฎิบัติในการทำวิทยานิพนธ์ องค์ประกอบของวิทยานิพนธ์ การจัดพิมพ์วิทยานิพนธ์ การอ้างอิงเอกสารในวิทยานิพนธ์ แบบที่ 1 และการอ้างอิงเอกสารในวิทยานิพนธ์ แบบที่ 2 และตัวอย่าง การอ้างอิงเอกสารในวิทยานิพนธ์ แบบที่ 1 ยึดหลักเกณฑ์ของ The American Psychological Association : APA. 5th ed. การอ้างอิงเอกสารในวิทยานิพนธ์ แบบที่ 2 ยึดหลักเกณฑ์ของ Vancouver Style, 1997 และ Vancouver Referencing, 2001 ใช้ในงานสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ ข้อมูลจากเว็บไซต์ บัณฑิตวิทยาลัย มข.

7 องค์ประกอบของวิทยานิพนธ์

8 แหล่งสารสนเทศในการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ
 แหล่งสารสนเทศในการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ  ข้อมูลเกี่ยวกับวารสารวิชาการระดับชาติที่โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก(คปก.) ยอมรับ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษาคปก. วารสารที่ได้รับการยอมรับจากคปก.และสกว.  ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สกว. ยอมรับ   ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ที่สกว. ยอมรับ วารสารที่ได้รับการยอมรับจากสกอ.

9 แหล่งสารสนเทศอื่นที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หรือ TCI Centre แหล่งตรวจสอบรายชื่อวารสารนานาชาติ ที่ปรากฎในฐานข้อมูลสากล เกณฑ์คุณภาพของวารสารวิชาการ เกณฑ์การเทียบผลงานทางวิชาการ (สกอ.) และรายชื่อวารสารวิชาการที่ สกว.ยอมรับ (รศ.ดร. จรัญ บุญกาญจน์)

10 แลกเปลี่ยนความรู้และมติความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมอบรม
* ขอบเขตการให้บริการนี้ เป็นการให้บริการโดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ให้บริการ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการตรวจสอบเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม การแนะนำรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิง และการแนะนำแหล่งวารสารที่จะส่งผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ ฯลฯ


ดาวน์โหลด ppt บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google