ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
2
The System Development Life Cycle : SDLC
วัฏจักรการพัฒนาระบบ (The System Development Life Cycle : SDLC) การพัฒนาระบบมาจากระบบสารสนเทศ จะมีขั้นตอนเป็นไปตาม วัฎจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ ประกอบไปด้วย 5 ระยะ (Phase) ดังนี้ การวางแผน (planning) การวิเคราะห์ (analysis) การออกแบบรายละเอียดของระบบ (detailed systems design) การดำเนินการ (implementation) การบำรุงรักษา (maintenance)
3
The Database Life Cycle : DBLC
ฐานข้อมูลมีวงจรชีวิตคล้ายกับวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยที่วัฏจักรฐานข้อมูล (DBLC) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดังนี้ การศึกษาเบื้องต้น การออกแบบฐานข้อมูล การติดตั้งระบบ การทดสอบและประเมินผล การดำเนินการ การบำรุงรักษาและการปรับปรุง
4
1. การศึกษาเบื้องต้น การศึกษาเบื้องต้นมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ขององค์กร 1.2 กำหนดปัญหาและข้อจำกัด 1.3 กำหนดจุดมุ่งหมาย 1.4 กำหนดขอบเขตของงาน
5
2. การออกแบบฐานข้อมูล 2.1 ออกแบบเชิงแนวคิด จะทำโดยการพัฒนาแบบจำลองข้อมูลให้มีความถูกต้อง ผู้ออกแบบจะต้องมีความละเอียดและความเข้าใจถึงข้อมูลของบริษัทเป็นอย่างดี - การกำหนดชนิดของ Entity - การกำหนดชนิดของความสัมพันธ์ - กำหนดแอตตริบิวต์ให้กับเอ็นติตี้ - จัดทำแอตตริบิวต์โดเมน - กำหนดคีย์คู่แข่งและคียหลัก - อาจใช้หลักการของ specialize/generalize กับ Entity (ถ้าจำเป็น) - เขียน Entity-Relationship Diagram - ทบทวนและตรวจสอบร่วมกันกับยูสเซอร์ว่าตรงกันที่คุยหรือไม่ อย่างไร
6
2. การออกแบบฐานข้อมูล 2.2 การเลือกโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ผู้ออกแบบต้องทราบถึงข้อจำกัดของระบบฐานข้อมูลเพื่อหลีกเลี่ยงความล้มเหลวในอนาคต 2.3 การออกแบบทางตรรกะ จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจใช้รูปแบบเฉพาะของฐานข้อมูล การออกแบบเชิงตรรกะ จึงหมายถึง การแปลงการออกแบบระดับเชิงแนวคิด ให้เป็นแบบจำลองฐานข้อมูลในระดับภายใน ตามระบบการจัดการฐานข้อมูล 2.4 การออกแบบทางกายภาพ คือ กระบวนการในการเลือกหน่วยจัดเก็บข้อมูล และลักษณะการเข้าถึงข้อมูลของฐานข้อมูล
7
3. การติดตั้งระบบ การติดตั้งระบบฐานข้อมูลตามที่ได้ออกแบบมาแล้วขึ้นอยู่กับ ระบบจัดการฐานข้อมูลที่ใช้ด้วย โดยเริ่มต้นจากการสร้าฐานข้อมูล กำหนดผู้จัดการฐานข้อมูล กำหนดพื้นที่ที่ต้องการใช้ สร้างตาราง ต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในระบบ
8
4. การทดสอบและการประเมินผล
เป็นกระบวนการในการตรวจสอบดูว่าระบบที่พัฒนามาสามารถ ทำงานได้ตามที่ต้องการหรือไม่ ควรมีการเตรียมข้อมูลทดสอบไว้ ล่วงหน้า
9
5. การดำเนินการ ดำเนินการ เป็นระบบที่สมบูรณ์พร้อมให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน
เมื่อฐานข้อมูลผ่านขั้นตอนการประเมินผล ต่อไปก็เป็นขั้นการ ดำเนินการ เป็นระบบที่สมบูรณ์พร้อมให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน
10
6. การบำรุงรักษาและการปรับปรุง
หลักจากระบบได้เริ่มดำเนินการ ผู้จัดการฐานข้อมูลจะต้อง เตรียมการบำรุงรักษาฐานข้อมูล ดังนี้ 1. การป้องกันระบบ โดยการสำรองข้อมูลไว้ 2. การแก้ไขระบบให้ถูกต้อง โดยการกู้คืน 3. การปรับปรุงระบบ โดยเพิ่ม Entity และ Attribute และอื่น ๆ
11
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
Entity Customer and Relation Customer Cus_ID Cus_Name Cus_Address Customer Customer Cus_ID Cus_Name Cus_Address Customer(Cus_ID, Cus_Name, Cus_Address)
12
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
Entity Customer and Composite attribute and relation Customer City Street Cus_ID Cus_Name State Cus_Address Customer Zipcode Customer Cus_ID Cus_Name Street City State Zipcode Customer (Cus_id, Cus_name, street,city,state,zipcode)
13
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
Entity Employee and Multivalued Attribure และการแปลงเป็น Relation Emp_Name Emp_Address Emp_ID Skill Employee Employee Employee_Skill Emp_ID Emp_Name Emp_Address Emp_ID Skill Employee(Emp_ID, Emp_Name, Emp_Address) Employee_Skill(Emp_ID, Skill)
14
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
Weak Entity กับผลการแปลงรีเลชัน First_Name Last_Name Emp_Name Dep_Name Date_of_Birth Emp_ID Gender Employee Has Dependent Employee Dependent Emp_ID Emp_Name First_Name Last_Name Emp_ID Date_of_Birth Gender Employee(Emp_ID, Emp_Name) Dependent(First_Name, Last_Name, Emp_Id, Date_of_Birth, Gender)
15
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
ความสัมพันธ์ระหว่าง Customer and Order กับการแปลงเป็นความสัมพันธ์แบบรีเลชัน Cus_Name Cus_ID Cus_Address Customer Submits Order_ID Order_Date Order Customer Order Cus_ID Cus_Name Cus_Address Order_ID Order_Date Cus_ID Customer(Cus_ID, Cus_Name, Cus_Address) Order(Order_ID, Order_Date, Cus_ID)
16
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
ความสัมพันธ์แบบ (M:N) กับการแปลงเป็นรีเลชันทั้งสาม Order_Date Unit_Price Order_ID Quantity Product_ID Order Requests Product Order Order_Line Order_ID Order_Date Order_ID Product_ID Quantity Product Product_ID Unit_Price (Other Attribute) Order(Order_ID, Order_Date) Order_Line(Order_ID, Product_ID, Quantity) Product(Product_ID, unit_price,…)
17
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
การแปลง Associative Entity เป็นรีเลชันทั้งสาม Order_Date Unit_Price Order_ID Quantity Product_ID Order Order Line Product Product_Desc Product_Finish Order Order_Line Order_ID Order_Date Product_ID Order_ID Quantity Product Product_ID Product_Desc Product_Finish Unit_Price
18
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
การแปลง Associative Entity เป็นรีเลชันทั้งสาม (ต่อ) Order(Order_ID, Order_Date) Order_Line(Product_ID, Order_ID, Quantity) Product(Product_ID, Product_Desc, Product_Finish, Unit_Price)
19
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary (1:M) เป็นรีเลชันด้วยการรีเคอร์ชีพจาก FK Name Emp_ID Birthdate Employee Manages Employee Emp_ID Name Birthdate Manager_ID Employee(Emp_ID, Name, Birthdate, Manager_ID)
20
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
การแปลงความสัมพันธ์จาก Supertype/Suptype เป็น Relation Address Emp_Name Emp_Type Employee Date_Hired Emp_No d H C S Hourly Employee Salaried Employee Consultant Hourly_Rate Annual_Salary Stock_Option Contract_No Billing_Rate
21
การแปลงรูป ER-Diagram ไปเป็นรีเลชัน
การแปลงความสัมพันธ์จาก Supertype/Suptype เป็น Relation Employee Emp_No Emp_Name Address Emp_Type Date_Hired Hourly_Employee H_Emp_No Hourly_Rate Salaried_Employee S_Emp_No Annual_Salary Stock_Options Consultant C_Emp_No Contract_No Billing_Rate Employee(Emp_No, Emp_Name, Address, Emp_type, Date_Hired) Hourly_Employee(H_Emp_no, Hourly_Rate) Salaried_Employee(S_Emp_No, Annual_Salary, Stock_Options) Consultant(C_Emp_No, Contract_No, Billing_Rate)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.