ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดูแลสุขภาพองค์รวม
โดย ดร. ศิริลักษณ์ จิตต์ระเบียบ และคณะฯ สำนักโรคไม่ติดต่อ
3
ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม สุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ กรรมพันธุ์ พฤติกรรม
กายภาพ/ชีวภาพ เศรษฐกิจ/การเมือง วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความมั่นคง การสื่อสารคมนาคม เทคโนโลยี ความเชื่อ จิตวิญญาณ ระบบบริการสุขภาพ Health System เสมอภาค/ความครอบคลุม---- ประเภทและระดับบริการ----- ---คุณภาพ/ประสิทธิภาพ รัฐ/เอกชน พลวัต
4
ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ
ความทุกข์ ความเป็นมนุษย์ สุพทรียภาพ สันติภาพ อิสรภาพ ความเจ็บป่วย โรค ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ
5
การออกกำลังกาย อาหาร การฝึกความคิด การคลายเครียด Exercise ยา Nutrition
Herbal medicine หลักการดูแลสุขภาพองค์รวมหรือการแพทย์ทางเลือก Principle of Holistic Care การฝึกความคิด Health&Mind Thinking การคลายเครียด Relax+Massage
6
สุขภาพกายและสุขภาพจิตใจมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
สุขภาพส่วนบุคคลและสุขภาพของสังคมก็เช่นเดียวกัน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกายและจิตโดยใช้พลังธรรมชาติเป็นฐาน การออกกำลังกาย การฝึกสมาธิภาวนา การกินอาหารเพื่อสุขภาพ การอาบแดด การล้างพิษ ย่อมช่วยให้เราสามารถฟื้นคืนดุลยภาพของชีวิต
7
ความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
Holistic Health สุขภาพองค์รวม ความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (ปัญญา) ไม่เพียงแก่ไม่เจ็บป่วยหรือไม่มีโรค หากยังครอบคลุมถึง การดำเนินชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุขของทุกคนด้วย
8
องค์ประกอบของสุขภาพองค์รวม
มิติทางจิตวิญญาณ มิติทางกาย Physical dimension Spiritual dimension องค์ประกอบของสุขภาพองค์รวม มิติทางสังคม มิติทางจิตใจ Psychological dimension Social dimension
9
Health : Determinants of Health
ปัจจัยกำหนดความมีสุขภาพดี 1. สถานะทางสังคม : Income and Social Status 2. ความมีเครือข่ายสังคมที่คบหา : Social Support Network 3. การศึกษา : Education and Literacy 4. การทำงาน : Employment Working Conditions 5. สิ่งแวดล้อมทางสังคม : Social Environment 6. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : Physical Environment
10
Health : Determinants of Health
ปัจจัยกำหนดความมีสุขภาพดี 7. งานอดิเรก การใช้เวลาว่าง : Personal Health Praclices and Coping skills 8. พัฒนาการในวัยเด็ก : Health child Development 9. ปัจจัยทางชีวภาคยีน : Biology and Genetic Enolowment 10. การใช้บริการสุขภาพ : Health Service 11. เพศ เชื้อชาติ ผิวพรรณ : Sex Gender 12. ประเพณี วัฒนธรรม : Culture
11
NEWSTART N – Nutraition : อาหาร E – Exercise : การออกกำลังกาย
WHO : ได้ให้ความหมายของการตื่นตัวในภาระสุขภาพของคนยุคใหม่ NEWSTART N – Nutraition : อาหาร E – Exercise : การออกกำลังกาย W - Water : น้ำ S - Sunshine : แสงแดด T - Temperance : อุณหภูมิ A - Air : อากาศ R - Rest : การพักผ่อน T – Trust in God : ความเชื่อ ความศรัทธา สมาธิ
12
หลักการดูแลสุขภาพองค์รวม
1. อาหาร (โภชนาการ : Nutrition ) 2. การออกกำลัง( Exercise / Fitness / Movement ) 3. ยา ( Herbal Medicine ) 4. การฝึกความคิด ( Health&Mind Thinking ) 5. การผ่อนคลาย / คลายเครียด(Relaxation / Message)
13
ความสำคัญของสุขภาพ สุขภาพ
สุขภาพเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการเพิ่มผลผลิต เพราะการเพิ่มผลผลิตต้องอาศัยคนทำ ถ้าคนทำการเพิ่มผลผลิตมีสุขภาพดี ย่อมสามารถทำการเพิ่มผลผลิตได้เต็มที่และต่อเนื่อง เป็นผลให้การเพิ่มผลผลิตบรรลุเป้าหมายได้โดยเร็ว ในทางตรงกันข้าม ถ้าคนที่ทำการเพิ่มผลผลิตมีสุขภาพที่ไม่ดี การเพิ่มผลจะบรรลุผลได้ช้าหรืออาจได้บรรลุเลย สุขภาพ สภาพของร่างกายและจิตใจ สุขภาพดีจึงหมายถึง สภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
14
กิจกรรม..............สร้างชีวิต.................พิชิตโรค
สร้างแกนนำที่เข้มแข็ง ของหน่วยงานในการขับเคลื่อน โดยให้หน่วยงานเพิ่มสถานที่ทำงาน น่าอยู่อย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของตนเอง
15
การสนับสนุนขององค์กร
การติดต่อสื่อสาร การตรวจ ติดตาม ทบทวน ประเมินผล การมีส่วนร่วมของบุคคลากร สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน มีชีวิตชีวา สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี
16
ปัญหาสุขภาพ มลพิษทางสภาพแวดล้อม นม – เนย – ไขมัน – เนื้อสัตว์
การขยายตัวของอุตสาหกรรม ทำลายป่า ทรัพยากร+สภาพแวดล้อมถูกทำลาย มลพิษทางสภาพแวดล้อม การบริโภคนิยาม แบบตะวันตก นม – เนย – ไขมัน – เนื้อสัตว์ มากเกินไป การกินอาหารไม่ถูกส่วน แนวคิดในการดำเนินตน แบบตะวันตก ความเครียดในการดำรงชีวิต
17
การแก้ไขปัญหา ใช้หลัก 3 อ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย
18
กรอบความสัมพันธ์ของแนวคิด วิสัยทัศน์
และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพและการพัฒนาประเทศ
19
ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ
20
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
“ความอยู่เย็นเป็นสุข” สังคมประชาธิปไตย มีธรรมาภิบาล การมีสุขภาวะ 6 องค์ ประกอบ ปัจจัยพื้นฐาน ร่วมในการ สร้างสุข เศรษฐกิจเป็นธรรม เข้มแข็ง สภาพแวดล้อมดี ระบบนิเวศสมดุล ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
21
วิธีล้างพิษด้วยวิธีธรรมชาติ
1. ฝึกลมหายใจเข้า- ออก (ช้าๆ) ประมาณ 8-10 ครั้ง/นาที (ทำวันละ 1-5 นาที) 2. ทำให้เหงื่อออก 3. - ปัสสาวะ ดูลักษณะสี จำนวน - อุจจาระ วันละ 1-3 ครั้ง ดูลักษณะสี จำนวน
22
วิธีล้างพิษด้วยวิธีธรรมชาติ(ต่อ)
4. คลายเครียด 5. ใน 1 สัปดาห์ ควรงดเนื้อสัตว์ 1 วัน/และหรือ 1-2 มื้อ - เริ่มด้วยผัก-ไม้ น้ำดื่มที่สะอาด (1 วัน/สัปดาห์) สวดมนต์, เข้าโบสถ์ ,อัลเลาะห์, ร้องเพลง , เล่นกีฬา ,สันทนาการ ฯลฯ
23
Q & A Thank YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.