ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ครั้งที่ 1 วันที่ 18-20 กุมภาพันธ์ 2556
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขตที่1 ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
2
บทบาทภารกิจ ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืช
ผลิตขยายและจัดหาชีวินทรีย์และสารธรรมชาติเพื่อสนับสนุนแก่เกษตรกร ในพื้นที่รับผิดชอบ ศึกษาทดสอบการใช้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืช ให้บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืชตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิต พัฒนาระบบพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพื่อพัฒนาเกษตรกร ผลิตปัจจัยการเกษตรและบริการทางการเกษตร
3
อัตรากำลัง รวม 12 อัตรา ข้าราชการ จำนวน 8 อัตรา ปฏิบัติงานจริง 7 อัตรา
อัตรากำลัง รวม 12 อัตรา ข้าราชการ จำนวน 8 อัตรา ปฏิบัติงานจริง 7 อัตรา นายถนอม ไชยเทพ ผู้อำนวยการศูนย์ นายสมบัติ ทนงจิตไพศาล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นายภูอภิสิทธิ์ พุทริ้ว นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นายสินสมุทร ภาณุเวช นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นางวนิดา พุทริ้ว นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นาย- นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นางสาวสาลินี สวนแก้ว เจ้าพนักงานธุรการ นายโกวิท นาคีสินธุ์ นายช่างเครื่องกล พนักงานราชการ 2 อัตรา (ว่าง 1 อัตรา) ลูกจ้างประจำ อัตรา จ้างเหมาบริการ 10 ราย
4
มอบหมายประสานงานจังหวัด
ผู้ประสานงาน โทรศัพท์ ชัยนาท ผอ.ศูนย์ นางจารุวรรณ มีสม สิงห์บุรี กรุงเทพฯ นายสมบัติ ทนงจิตรไพศาล อ่างทอง สระบุรี นางวนิดา พุทริ้ว อยุธยา นนทบุรี นายสินสมุทร ภาณุเวช ปทุมธานี ลพบุรี นายภูอภิสิทธิ์ พุทริ้ว
5
งานโครงการ ปี 2556 งาน โครงการ กิจกรรม ปริมาณ จังหวัด คลินิกเกษตร
เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน สนับสนุนการจัดงาน ถ่ายทอดความรู้การบริหารศัตรูพืช 4 โอกาสที่จังหวัดจัด 5 โรงเรียน 9 จังหวัด ปทุมธานี อยุธยา มันสำปะหลัง แตนเบียน Anagyrus แมลงช้างปีกใส 118,000 ตัว ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี อบรมเฉพาะด้าน อบรม จนท. อารักขาพืชอำเภอ อบรมฝึกอาชีพการเกษตร อบรม มีนาคม โรงแรมชัยนาทธานี 500 ราย อำเภอละ 1 ราย รวม 78 ราย
6
การผลิตขยายศัตรูธรรมชาติอื่น ๆ
ชนิด การดำเนินการ แมลงหางหนีบ ไม่ได้รับงบประมาณผลิตขยาย มวนตัวห้ำ มีการผลิตขยายไว้ศึกษาดูงานและ ด้วงเต่าตัวห้ำ แจกจ่ายสนับสนุนตามศักยภาพ กบ เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราไตรโคเดอร์มา หัวเชื้อราบิวเวอเรีย หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา อื่น ๆ วน
7
การปฏิบัติงานร่วมกับจังหวัด
กลุ่มงานอารักขาพืช ซึ่งมีบทบาทภารกิจ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ และวางแผนการดำเนินงานด้านการอารักขาพืช ๒. สำรวจ ติดตาม เฝ้าระวังและประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓. ศึกษา พัฒนา รูปแบบและวิธีการจัดการศัตรูพืชถ่ายทอดเทคโนโลยี การอารักขาพืชแก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกร ๔. ให้บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืชและให้คำปรึกษา แนะนำ ๕. ติดตามและประเมินผล และรายงานผล ๖. ประสานและดำเนินงานเกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ ๗. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
8
การปฏิบัติงานร่วมกับจังหวัด (ต่อ)
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (สนับสนุนการปฏิบัติงาน) ภารกิจ สำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช รายงานการสำรวจศัตรูพืชให้อำเภอ เตือนการระบาดศัตรูพืช จัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ถ่ายทอดความรู้ด้านการควบคุมศัตรูพืชให้ชุมชน ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติขึ้นใช้เอง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.