ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
3.1 กระบวนการวางแผนฟาร์ม 3.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตร 3.3 การประเมินผลการดำเนินงานของฟาร์ม หนังสือ/เอกสารอ่านประกอบ 1. อารี วิบูลย์พงศ์ เศรษฐศาสตร์สำหรับนักเกษตร: หลักและวิธีการ บทที่ 4-8 2. นราทิพย์ ชุติวงศ์ หลักเศรษฐศาสตร์ 1: จุลเศรษฐศาสตร์. 3. หลักการจัดการฟาร์ม โดย
2
3.1 กระบวนการวางแผนฟาร์ม
3
กระบวนการวางแผนฟาร์ม
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจที่มีผลต่อกำไรของธุรกิจฟาร์มภายใต้ความเสี่ยงภัย ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร เกษตรกร/ผู้จัดการฟาร์ม ผลิตสินค้าเกษตร กระบวนการตัดสินใจ: ผลิต ซื้อ/ขายฯ รายได้/กำไรของฟาร์ม
4
ปัญหาที่ผู้จัดการฟาร์มต้องตัดสินใจ
จะผลิตอะไร จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มี ผลิตอะไรบ้าง พืชอะไร สัตว์อะไร 2. จะผลิตอย่างไร วิธีการผลิต/เทคโนโลยี ที่จะใช้ 3. จะผลิตมากน้อยเท่าไร จะจัดสรรปัจจัยการผลิตที่มี หรือที่สามารถหาได้ ไปใช้ผลิตผลผลิตแต่ละชนิดมากน้อยเพียงใด 4. ควรซื้อ/หา ปัจจัยการผลิต เมื่อไร ที่ไหน 5. จะขายผลผลิตเมื่อไร ที่ไหน 6. จะเปลี่ยนแปลงระดับการผลิต และใช้ปัจจัยการผลิตอย่างไร เมื่อสภาวะทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป
5
ขั้นตอนในการวางแผนจัดการฟาร์ม
กำหนดเป้าหมายของฟาร์ม: อาจมีหลายเป้าหมาย 2. รู้และเข้าใจในปัญหาของฟาร์ม 3. หาข้อมูลเพื่อวางแผน ตัดสินใจ 4. พิจารณาทางเลือก 5. ตัดสินใจ 6. ลงมือปฏิบัติตามที่ตัดสินใจ 7. รับผิดชอบต่อการตัดสินใจ 8. ประเมินการตัดสินใจ
6
ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ
ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจมีหลายลักษณะ ลำดับความสำคัญของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ: เท่า ไม่เท่า 2. ความถี่ของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ : บ่อย ไม่บ่อย 3. ความเร่งด่วนของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ 4. ความยืดหยุ่นของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ 5. โอกาสหรือทางเลือกในการตัดสินใจสำหรับปัญหาหนึ่งๆ : ทางเดียว หลายทาง
7
การตั้งเป้าหมายฟาร์ม
เป้าหมายฟาร์ม: เป็นจุดหมายปลายทางที่ผู้ผลิต/ผู้จัดการฟาร์มกำหนดไว้ แล้วยินดีที่จะทำงานและใช้ความพยายามที่จะให้ได้มาซึ่งความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้
8
คุณลักษณะของเป้าหมายฟาร์ม
เป้าหมายต้องชัดเจน 2. เป้าหมายต้องเป็นสิ่งที่กำหนดได้และมีความเป็นไปได้ 3. เป้าหมายเป็นสิ่งที่ต้องการความพยายาม 4. เป้าหมายต้องมีวันครบกำหนดชัดเจน 5. เป้าหมายต้องวัดได้ 6. เป้าหมายบางอย่างสามารถทำได้ง่ายกว่า ควรทำเป้าหมายที่ง่ายให้ได้ก่อน เพื่อสร้างกำลังใจ 7. เป้าหมายควรมีความยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ 8. บางเป้าหมายอาจไม่สามารถบรรลุได้ สร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ นำไปสู่การตั้งเป้าหมายและปฏิบัติใหม่
9
ขั้นตอนการกำหนดเป้าหมายฟาร์ม
ขั้นสะสมความคิด หาเวลาตั้งเป้าหมาย และวางเป้าหมาย ประเมินงานที่ได้ทำมาในอดีต ตรวจสอบเป้าหมาย พิจารณาทางเลือกที่มีอยู่ในปัจจุบัน จัดทำรายการใหม่ กำหนดเป้าหมายระยะสั้น ปานกลาง และยาว เช็คว่าเสริมกัน ขัดแย้งกัน หรืออิสระต่อกัน ปรึกษา หาข้อตกลง และสรุป
10
เครื่องมือในการวางแผน จัดการ และประเมินผลการดำเนินงานฟาร์ม
หลัก/ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์: ทฤษฎีว่าด้วยการผลิต: กฎว่าด้วยผลลดน้อยถอยลง หลักผลตอบแทนเพิ่มเท่ากัน ค่าเสียโอกาส การใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน 2. บัญชีฟาร์ม: งบดุล งบกระแสรายวัน (รายรับ-รายจ่าย) งบกำไรขาดทุน 3. งบประมาณฟาร์ม: งบประมาณทั้งหมด งบประมาณบางส่วน 4. การวิเคราะห์โครงการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.