ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เครื่องชี้นำวิกฤตการณ์ค่าเงินของไทย
นพดล บูรณะธนัง วรางคณา อิ่มอุดม สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
2
จุดประสงค์ เพื่อหาเครื่องชี้เศรษฐกิจสำคัญที่สะท้อนความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามภาวะเศรษฐกิจได้
3
นิยามของวิกฤตการณ์ค่าเงิน
ไม่มีกฎที่ใช้ตัดสินเวลาที่เกิดวิกฤตที่ตายตัว วิกฤตการณ์ค่าเงินอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นตัวเงิน (nominal exchange rate) การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง (real exchange rate) การใช้ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Market Pressure Index)
4
ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
Empt = %D et - se* %D rt sr et = อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเวลา t rt = ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ในช่วงเวลา t se= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราแลกเปลี่ยน sr= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
5
Exchange Market Pressure Index
6
นิยามวิกฤตการณ์ค่าเงินในการศึกษานี้
Empt > semp + memp เกิดวิกฤตการณ์ Empt < semp + memp ไม่เกิดวิกฤตการณ์
7
Crisis Period
8
ข้อจำกัดของคำนิยามนี้
วิกฤตการณ์จะขึ้นอยู่กับจำนวนตัวอย่างที่ใช้ การไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยอาจทำให้การกำหนดวิกฤตคลาดเคลื่อนได้
9
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง First-generation model: ปัจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจเป็นตัวแปรสำคัญ Second-generation model: ให้ความสำคัญกับการคาดคะเน (expectation) และพฤติกรรมที่เหมาะสม (optimizing behavior) ของทางการ Third-generation model: ผสมผสานของ 2 กลุ่มแรก
10
วิธีการศึกษา Parametric approach เช่น Probit/logit model
Non-parametric approach เช่น Signal approach
11
การศึกษานี้ ใช้วิธีแบบจำลองทางเศรษฐมิติตามแบบ probit model
ใช้ข้อมูลรายเดือนตั้งแต่ มกราคม กันยายน 2544 ตัวแปรอธิบายจะอยู่ในรูปอัตราเปลี่ยนแปลง (y-o-y) หรือเป็นสัดส่วน และแปลงเป็น percentile
12
Probit Model Binary Probit Model: Yt = X/t b + et
Pt(Yt = 1/Xt) = F(X/t b) = F(Yt) F(X/t b) = N(0,1) ภาวะวิกฤต ถ้า Yt > Y*t ภาวะปกติ ถ้า Yt < Y*t
13
เครื่องชี้เศรษฐกิจ กลุ่มดุลบัญชีเดินสะพัด
การส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. การนำเข้า ในรูปดอลลาร์ สรอ. Real Effective Exchange: REER REER เทียบกับแนวโน้ม กลุ่มดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศเทียบกับแนวโน้ม ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ/การนำเข้า ส่วนต่างInterbank rate กับ Fed Fund Rate ปริมาณเงิน (M2)/ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
14
เครื่องชี้เศรษฐกิจ (ต่อ)
กลุ่มเครื่องชี้ภาคการเงิน สินเชื่อในประเทศ ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก Money multiplier กลุ่มเศรษฐกิจจริง ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน รายได้รัฐบาล ดุลเงินสดรัฐบาล ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีตลาดหลักทรัพย์
15
ผลการประมาณแบบจำลอง Indicators Model 1 Model 2 Model 7
Exports *** * *** REER-Trend *** *** Reserves/Imports *** ** Govt. Revenue *** *** Spread * SET Index *** Domestic credits CPI ** Log likelihood Obs. with Obs. With
16
Model 1 Model 2 Model 7
17
การประเมินความถูกต้องของแบบจำลอง
กำหนด Cut-off Point Probability (ร้อยละ 40) เหตุการณ์จริงในอีก 24 เดือนข้างหน้า เกิดวิกฤต ไม่เกิดวิกฤต A B ประมาณการ มีสัญญาณ ไม่มีสัญญาณ C D
18
Performance Test Avg. Prob. 0.31 0.29 0.19 0.15 0.18 0.15
Model 1. Model 2. Model 7. In Out In Out In Out Avg. Prob (A+D)/(A+B+C+D) 0.55 0.52 0.35 0.32 0.30 0.34 A / (A+C) 0.52 0.36 0.27 0.09 0.04 0.11 D / (B+D) 0.91 0.91 0.88 0.91 0.92 0.91 A / (A+B) 0.91 0.90 0.73 0.70 0.57 0.74 ((B/(B+D))/(A/(A+C) 0.23 0.26 0.92 1.08 1.84 0.86 Type I 0.59 0.64 0.87 0.91 0.96 0.89 Type II. 0.09 0.09 0.12 0.09 0.08 0.09
19
Marginal Effects Indicators Model 1 Model 2 Exports -0.0749 -0.0175
REER-Trend Reserves/Imports Govt. Revenue Spread SET Index
20
บทสรุป วิกฤตการณ์ค่าเงินมีความสัมพันธ์กับการขยายตัวของ (1) การส่งออก (2) รายได้รัฐบาล (3) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (4) สัดส่วนทุนสำรองเงินตราต่างประเทศต่อการนำเข้า (5) ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก (6) REER เทียบกับแนวโน้ม และ(7) ดัชนีราคาผู้บริโภค ทำนายวิกฤตได้ถูกต้องระหว่างร้อยละ 30-52 ส่งสัญญาณวิกฤตได้ถูกต้องประมาณร้อยละ 60-90
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.