ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTukata Wattana ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
2
ท้องฟ้ามีการกระเจิงทั้ง2แบบคือ Rayleingh Scatteringและ Mie Scattering
3
The scattering from molecules and very tiny particles (< 1 /10 wavelength) is predominantly Rayleigh scattering. For particle sizes larger than a wavelength, Mie scattering predominates. This scattering produces a pattern like an antenna lobe, with a sharper and more intense forward lobe for larger particles. Mie scattering is not strongly wavelength dependent and produces the almost white glare around the sun when a lot of particulate material is present in the air. It also gives us the the white light from mist and fog. Greenler in his "Rainbows, Haloes and Glories" has some excellent color plates demonstrating Mie scattering and its dramatic absence in the particle-free air of the polar regions.
4
Mie Scattering Rayleigh scattering จะเกิดการกระเจิงแสงได้กับช่วงความถี่สูง ทำให้เกิดการกระเจิงแสงสีฟ้าได้ดี Mie scattering จะเกิดการกระเจิงแสงได้ทุกช่วงความถี่
5
ตัวอย่างการกระเจิงแสงในชีวิตประจำวัน
ท้องฟ้าเป็นสีฟ้านั้นเกิดจากการกระจาย (กระเจิง)แสงของโมเลกุลในชั้นบรรยากาศของโลก โดยเมื่อแสงขาวจากแสงแดดผ่านเข้ามายังชั้นบรรยากาศของโลกจะกระทบกับโมเลกุล แก๊ส และเกิดการกระเจิงแสงของโมเลกุล เมื่อลำแสงจากดวงอาทิตย์ ผ่านบรรยากาศเข้ามาตรงศีรษะ หรือเกือบตรงศีรษะ แสงที่เดิมทีเป็นสีขาวก็แยกตัวออกด้วยการกระเจิงกลายเป็นมีสีฟ้ามากกว่าสี อื่นๆ เพราะโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศของเราจะกระเจิงแสงสีฟ้าได้ดีกว่า โดยเฉพาะโมเลกุลของก๊าซอ๊อกซิเจน และไนโตรเจน จะกระเจิงแสงสีฟ้าได้ดีกว่าสีแดงที่มีความยาวคลื่นมากกว่าสีฟ้า แสงที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าจะกระเจิง (Scattering) ได้ดีในชั้นบรรยากาศ สียิ่งมีความยาวคลื่นสั้นก็ยิ่งจะกระเจิงแสงได้ดี และแสงสีฟ้านี่เองกระเจิงได้มากถึง 10 เท่าของสีแดง และนั่นเป็นเหตุผลว่าทำไมท้องจึงเป็นสีฟ้า
6
หลายคนคงสงสัยด้วยว่า แล้วในเวลาเช้าและเย็น ทำไมท้องฟ้าถึงเปลี่ยนสีกลายเป็นสีส้มๆ แดงๆนั่นเป็นเพราะอะไร เพราะว่าโมเลกุลของอากาศมันเลือกกระเจิงแสงสีฟ้าออกไปมากกว่าสีอื่น เราจึงเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้าค่ะ เมื่อลำแสงจากดวงอาทิตย์ ผ่านบรรยากาศเข้ามาตรงหัว หรือเกือบตรงหัว แสงที่เดิมทีเป็นสีขาวก็แยกตัวออกด้วยการกระเจิงกลายเป็นมีสีฟ้ามากกว่าเพื่อน เพราะในเวลาเย็นหรือเช้า แสงจะเข้ามาเฉียงๆ เป็นมุมทแยงกับพื้นโลก และต้องผ่านบรรยากาศหนาขึ้นมากกว่าเวลาที่พระอาทิตย์ตรงศีรษะ และกว่าจะเดินทางถึงตาเรา แสงสีฟ้าส่วนใหญ่จะกระเจิงออกไปหมด ส่วนหนึ่งจะหายไปในอวกาศ ทำให้แสงที่เหลือ ซึ่งเป็นพวกสีส้มสีแดงมีอิทธิพลมากขึ้นมาเรื่อยๆ เมื่อเวลาเย็นลง ท้องฟ้าก็จะเริ่มเปลี่ยนสีไปทางสีส้มมากขึ้น
8
แหล่งอ้างอิง
9
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวกนกพร มโนชมพู 500510025
นางสาวกนกพร มโนชมพู นางสาวกมลพร ภูคาจารย์ นาย จงรัก จินดาคำ นางสาว จุไรพร ก้อนแก้ว นายธนพัฒน์ จิระเดชประไพ นางสาว สุภารัตน์ ทองเพ็ง นางสาวกัญญ์ณพัชญ์ นันตาเครือ นางสาวอัจฉราภรณ์ ผลรินทร์ นางสาวอารีรัตน์ ศรีนวล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.