ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การพัฒนาระบบยา โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
2
ระบบยาโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด * คณะอนุกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด - การบริหารเวชภัณฑ์ * คณะกรรมการพัฒนาระบบยา - ความปลอดภัยด้านยา * คณะกรรมการกำกับและประเมินการใช้ยา * คณะทำงานบริหารยาเคมีบำบัด
3
นโยบายความปลอดภัยด้านยา ของโรงพยาบาล
1. การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 2. การป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา 3. การเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง 4. การดูแลความต่อเนื่องของการใช้ยาของผู้ป่วย 5. การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย 6. การพัฒนาระบบกระจายยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน วิชาชีพ
4
แผนการพัฒนาระบบยา * การเยี่ยมสำรวจระบบยา ทุก 1 เดือน เริ่ม เมษายน 2552
1. ระบบกระจายยาและการเฝ้าระวัง ME 2. การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย 3. การดูแลยาเดิมของผู้ป่วย 4. การใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง 5. การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
5
ระบบกระจายยาและการเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
ผู้ป่วยนอกใช้ HOSxP + ใบสั่งยา / มีการ screen ใบสั่งยาที่แพทย์ส่งทาง com ผู้ป่วยในใช้ระบบ daily dose (ยกเว้นตึกหลังคลอด) โดยใช้สำเนา DOS ส่งห้องยา / มี tripple check
6
ผลการเฝ้าระวังการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา
ชนิด เป้า หมาย ปีงบประมาณ 2550 ปีงบประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 ( ต.ค. 51 – ก.พ. 52 ) OPD IPD 1. Prescribing error A-B 1% 0.04% 0.09% 0.067% 0.11% 0.279% 0.066% C-D 0.5% 0.0012% 0.0026% 0.0003% 0.0072% 0.0008% 0.011% E-I 1 ( E ) 3 ( E ) 2. Pre-dispensing error A 3% n/a 1.48% 1.01% 3. Dispensing error B 0.0004% 0.116% 0.24% 0.16% 0.0024% 0.0037% 0.004% 0.01% 0.013% 1 ( F ) 4. Administration error 0.012% 0.025% 0.029%
7
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : ระบบกระจายยา
การบริหารยา real time ยังทำได้ไม่ครบถ้วน ทีมสรุปว่าจะเน้นเฉพาะ HAD ก่อน การให้ยาทางสายยาง พบปัญหาการบดยาหลายชนิด ใช้วิธีแช่น้ำรวมกัน กำลังจัดทำข้อมูลยาที่ไม่ละลายน้ำ/ incompatability การใช้ยาเสพติด การทิ้ง มีบางหอผู้ป่วยที่การเบิกจ่ายยังไม่รัดกุม
8
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ME
ทีมสหสาขายังไม่เข้าใจ นิยามระดับความรุนแรงของ ME / near miss/ sentinel events การบริหารยามีการ double check ทุกหอโดยเฉพาะยา HAD การรายงานอุบัติการณ์ ME ส่วนใหญ่ยัง under report
9
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ME
ยาที่ใช้ร่วมกัน, ยาซ้ำของผู้ป่วยทุกรายและยาฉีด small dose ของเด็ก อยู่ในแผนพัฒนา เนื่องจากต้องเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และ อัตรากำลัง
10
แผนพัฒนาการป้องกัน ME
วิเคราะห์ข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยาให้เห็นภาพการเกิดขึ้นซ้ำ หน่วยงาน/ ช่วงเวลา/ ความรุนแรง/ คู่ยาที่พบ แก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็น
11
การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย
ลดรายการยาเหลือเท่าที่จำเป็น Antidote, Stat dose, prn Review รายการทุก 1 ปี สำรวจยาทุก 2 เดือน + รายงานผลการสำรวจให้หอผู้ป่วยทราบด้วย ยาสำหรับ CPR ในรถ Emergency เปลี่ยนใหม่ทุก 2 เดือน
12
ผลการดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย
รายการยาและมูลค่ายาสำรองหอผู้ป่วยลดลง ไม่มียา KCL inj. stock ทุกหอผู้ป่วย
13
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย
มีการปรับปรุงรายการยาสำรอง ตามนโยบาย PTC ทบทวนการตรวจสอบอุณหภูมิตู้เย็นให้เป็นแนวทางเดียวกัน แผนการจัดยารถ CPR รูปแบบเดียวกันทุกหอผู้ป่วย
14
การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation )
OPD พยาบาลหน้าห้องตรวจสอบถามเกี่ยวกับยาเดิม ส่งปรึกษาเภสัชกร (วันพฤหัสมีเภสัชกรดูแลยาเดิมหน้าห้องตรวจโรคไต) สรุปรายการยาเดิม +ปัญหาเรื่องยา ลงในแบบฟอร์มยาเดิม แพทย์พิจารณาสั่งใช้ยา
15
การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation )
IPD * ใช้โปรแกรม HOSxP ในการตรวจสอบยาเดิม เชื่อมต่อข้อมูลผู้ป่วยใน + ผู้ป่วยนอก ย้าย ward และจำหน่าย แต่ยังขาดข้อมูลยาที่ได้รับจากที่อื่น แผนพัฒนา - จัดทำแบบฟอร์มบันทึกยาเดิม - ทบทวน flow การดูแลยาเดิมโดยทีมพัฒนาระบบยา - โครงการนำร่อง PCT ละ 1 ward เริ่ม 1 พ.ค.2552
16
การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation )
IPD (กำลังดำเนินการ- เริ่ม Zone ละ 1 ward) พยาบาลหน้าห้องตรวจสอบถามเกี่ยวกับยาเดิม ส่งปรึกษาเภสัชกร เภสัชกรสรุปรายการยาเดิมลงในแบบฟอร์มยาเดิม แพทย์พิจารณาสั่งใช้ยา เภสัชกรลง profile พยาบาลรับคำสั่ง นำยาเดิมผู้ป่วยมาดูแล
17
การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (เป้าหมาย: ไม่เกิด ME ระดับ C ขึ้นไป)
รายการยา common HAD/ specific HAD common HAD 6 กลุ่ม Adrenergic agonist : Adrenaline, Dopamine, Dobutamine Electrolytes : KCl, Calcium gluconate, Mg SO4,3%NaCl Anticoagulants : Heparin, Enoxaparin, Warfarin Insulin inj. Narcotic drugs : Morphine, Pethidine, Fentanyl Vasodilator : Nitroprusside injection ,Nitroglycerin inj
18
การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (ต่อ)
Specific HAD Sedative : Dormicum inj, Chloral hydrate Hypnotic : Propofol inj,Thiopental Sodium inj ,Ketamine inj. Neuromuscular blocking agents CHEMOTHERAPY
19
การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (ต่อ)
กำหนดแนวทางการจัดการยา HAD แพทย์เขียนคำสั่งที่ชัดเจนใน DOS (งดใช้คำย่อ) เภสัชกรรับคำสั่งการใช้ยา Print ฉลากยา ระบุวิธีผสมยา อัตราการให้ยา + ฉลากระบุ Critical point พยาบาลรับคำสั่งการใช้ยา ติดฉลาก critical point ในใบ MARs และติดตาม เฝ้าระวังอาการ บันทึกผลการติดตาม แจ้งแพทย์ผู้รับผิดชอบ+ เขียนรายงานอุบัติการณ์
20
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง
ยังมีการใช้คำย่อ การสั่งยาเป็นสัดส่วน รณรงค์ผ่านองค์กรแพทย์ /การปฐมนิเทศแพทย์ใหม่ การจ่ายยา ติดฉลาก HAD ไม่ครบถ้วน การบันทึกผลการเฝ้าระวัง ยังไม่มีการสรุปผลการประเมิน
21
การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
. เป้าหมาย ไม่มีการแพ้ยาซ้ำจากระบบของโรงพยาบาล
22
ผลการเฝ้าระวังการเกิด ADR และการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
2551 2552 (ต.ค.51-มี.ค.52) พบประวัติการแพ้ยาซ้ำ 1866 782 สั่งยาที่แพ้ซ้ำ 44 56 แพ้ยาซ้ำ 6 2 สาเหตุ การจัดการและส่งต่อข้อมูลการแพ้ยาในผู้ป่วยที่ admit ใหม่ยังไม่เข้มงวดและ รวดเร็ว ทบทวน flow การรายงาน ADR + กระตุ้นเตือนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
23
ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ADRs
* บุคลากรยังขาดความเข้าใจความหมาย ADRs type A,B และยังไม่เข้าใจขั้นตอนการรายงานเมื่อมีประวัติแพ้ยา การวางแผนแก้ปัญหา * ทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแพ้ยารูปแบบต่าง ๆ ให้ทีมสหวิชาชีพ * รายงานผลการเฝ้าระวัง ADR และการสั่งยาในผู้ป่วยมีประวัติแพ้ สู่ผู้ปฎิบัติงานทุกสาขาวิชาชีพ เดือนละ 1 ครั้ง
24
ระบบยาด้านอื่น ๆ Fatal-DI กำหนดรายการโดย PTC แล้ว และมีระบบการเตือนในระบบคอมพิวเตอร์ การบริหารยาเคมีบำบัดแบบรวมศูนย์ จัดทำแล้ว 1 ศูนย์ (OPD cases) ผู้ป่วยจาก MED/ ward อื่น ๆ อยู่ในระหว่างดำเนินการจัดหาสถานที่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.