ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMai Kawrungruang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
โครงการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดปัตตานีและจังหวัดนราธิวาส ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง
2
ความเป็นมา ราษฎรบ้านละเวง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานความช่วยเหลือสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้ทรงช่วยฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำซึ่งลดลงไปมาก โดยราษฎรยังได้กราบบังคมทูลว่าราษฎรยินดีร่วมบริจาคทรัพย์ เพื่อโครงการดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้พระราชทานพระราชดำริแนะนำสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ให้จัดประชุมหารือผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องทางด้านต่างๆเพื่อจัดตั้งโครงการ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร และคณะผู้เชี่ยวชาญได้ประชุมหารือ เพื่อร่างโครงการเพิ่มอาหารลงสู่ทะเล ปี โดยในการนี้ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานคำแนะนำว่า สมควรจัดให้มีสถานีวิจัยและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำขึ้น เพื่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำปล่อยลงสู่ทะเล เพื่อเป็นการฟื้นฟูธรรมชาติและเพื่อทำหน้าที่ฝึกอบรมราษฎรซึ่งอยู่ในบริเวณข้างเคียงให้มีความรู้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ
3
. ผลการดำเนินงาน ปี 2544- ปัจจุบัน
เพาะพันธุ์สัตว์น้ำ เช่น กุ้งกุลาดำ กุ้งแชบ๊วย ปลากะพงขาว ปล่อยลงสู่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย และแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น คลองตากใบ คลองโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส เพิ่มผลผลิตและเพิ่มทรัพยากรในแหล่งน้ำ
4
ปี 2544 และ ปี 2545 ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 4,160,000 ตัว
ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 25,550,000 ตัว ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 25,550,000 ตัว ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 31,426,000 ตัว
5
ปี 2549 ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 31,000,000 ตัว
ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 30,300,000 ตัว ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 32,000,000 ตัว ปี ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 31,000,000 ตัว ปี เป้าหมาย ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 30,000,000 ตัว ปลากะพงขาว 500,000 ตัว / กุ้งกุลาดำ 10 ล้านตัว / กุ้งแชบ๊วย 19.5 ล้านตัว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.