งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ

2 วิกฤติองค์กร กับทางออก 9 มาตรการ
ลดค่าใช้จ่าย ลด OT ลดเวลาทำงาน ลดเงินเดือน ลดคนงาน ลดแผนก/ลดงาน เลิกจ้าง หยุดกิจการชั่วคราว เลิกกิจการ

3 การทำงานที่ไม่ประสบความสำเร็จ
พึ่งดวง หวงอำนาจ ญาติอุปถัมภ์ ทำคนเดียว เขี้ยวลากดิน กินไก่วัด งัดข้อกับคน จ้อทั้งวัน ขยันโง่ อวดตัวซ่า

4 พฤติกรรมการทำงานที่ไม่เหมาะสมดูได้จาก....
ลาป่วยเป็นนิจ ลากิจเป็นประจำ การงานชอบเลี่ยง ส่งเสียงชวนคุย ทำชุ่ยอยู่เสมอ พอเผลอมักหลับ ชอบกลับก่อนเวลา มาสายตลอดปี มีธุระตลอดวัน สุมกันนินทานาย

5 What we changed …! Technology Change Strategic Change
The way we work; work methods Strategic Change The way we do business; a company’s strategy, vision and mission Structural Change The way we organize; reorganization, re-shuffle manpower Developmental Change The way we train and develop our people; learning methods Cultural Change The way we behave; a company’s shared values and aims

6 กลยุทธ์เพื่อการพัฒนา-ปรับปรุง Strategy for Development & Improvement
Trial & Error Benchmarking Best Practice Innovation

7 ตัวอย่าง Culture องค์กรต่างๆ
ค่านิยมองค์กร CP-RAM The AXA Values บริษัท เคมีภัณฑ์ซิเมนต์ไทย จำกัด D-HABIT 3 C’s for EASY BUY Staff DHL 7 Values VOLVO Way เสาหลักของ TOYOTA WAY ICC MINEBEA

8 การบริหารจัดการความรู้
“ ระบบการบริหารจัดการความรู้ให้เป็นระเบียบครบถ้วนง่ายต่อการเรียกใช้ จัดเก็บตามความ ต้องการ และการเก็บรักษาความรู้ให้ควบคู่กับ องค์กรตลอดไป โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการ”

9 วัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้
เพิ่มประสิทธิภาพและผลงานทั้งในระดับบุคคล หน่วยงาน และบริษัท ลดระยะเวลาในการดำเนินการเรื่องต่างๆ ป้องกันการสูญเสียความรู้ของบริษัท สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากร เพิ่มความพึงพอใจในการทำงานแก่พนักงาน เริ่มกันที่เรามาทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้ของบริษัทกันก่อนว่ามีเหตุผลใดถึงมีความจำเป็นที่ต้องนำการจัดการความรู้เข้ามาประยุกต์ใช้ในบริษัทของเรา โดยวัตถุประสงค์หลักมีด้วยกันอยู่ 5 ประการได้แก่ เพิ่มประสิทธิภาพและผลงานทั้งในระดับบุคคล หน่วยงาน และบริษัท ลดระยะเวลาในการดำเนินการเรื่องต่างๆ ป้องกันการสูญเสียความรู้ของบริษัท สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากร เพิ่มความพึงพอใจในการทำงานแก่พนักงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

10 Knowledge Hierarchy Wisdom Knowledge Information Data

11 การสร้างและพัฒนาระบบ Knowledge Management : KM
1.การวางแผนกลยุทธทางด้านความรู้ (Knowledge strategy) 2.การถ่ายทอดความรู้ (Knowledge Transfer) 3.การสร้างความร่วมมือ (Communities of practice) 4.การเพิ่มคุณค่า (Add Value of KM) 5.การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Learning and KM)

12 กระบวนการเปลี่ยนแปลง
1. การสื่อสารให้เข้าใจถึงสาเหตุที่ต้องเปลี่ยนแปลง 2. กำหนดเป้าหมาย 3. สร้างและกำหนดทางเลือก 4. วางแผน : ปฏิบัติการตามแผน 5. เสริมแรงให้กับความเปลี่ยนแปลง 6. ประเมินผล

13 กิจกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กร
เปิดห้องคุย มุมกาแฟ มุมหนังสือ การอบรม สัมมนา การจัดนิทรรศการ การจัดบอร์ด ผู้บริหารประชุม เดือนละครั้ง/15 วันครั้ง เชิญวิทยากรมาบรรยาย การรับประทานอาหารร่วมกัน คัดเลือกพนักงานดีเด่น ฯลฯ

14 เทคนิค วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิควิธีการสร้างการมีส่วนร่วม ที่นำไปใช้ในการพัฒนา 1. A-I-C Appreciation – Influence – Control 2. Mindmap to Mindscape 3. Vipp Visualization in Participatory Planning

15 A-I-C เป็นวิธีที่ง่าย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ สำหรับการวางแผนพัฒนาชุมชน หรือหมู่บ้าน และยังเป็นเครื่องมือระดมความคิดเห็นได้ด้วย

16 กระบวนการ 1. ขั้นการสร้างความรู้ A : Appreciation 2. ขั้นการสร้างแนวทางการพัฒนา I : Influence 3. ขั้นการสร้างแนวทางการปฏิบัติ C : Control

17 จุดดี & จุดอ่อน จุดดี เน้นถึงการยอมรับและการชื่นชม ถือเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีส่วนร่วมและการพัฒนา และเป็นวิธีการที่ง่ายต่อการนำไปปฏิบัติจริง จุดอ่อน มีความเป็นอุดมคติสูง อาจมีความยากในการเริ่มต้นของกิจกรรม ผู้นำกิจกรรมจะต้องสื่อสารให้ชัดเจน การสนทนาในกิจกรรมอาจ มีปัญหาเรื่องตำแหน่งหน้าที่การงานที่สูงกว่า

18 Mindmap To Mindscape เป็นเครื่องมือทางความคิดที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว เพียงแต่ใช้จินตนาการของผู้เข้ารวมในการวาดภาพ Mindscrap เพื่อถ่ายทอดความคิดในลักษณะคล้ายภาพต้นไม้

19 Vipp (Visualization in Participatory Planning) กระบวนการ Vipp แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน 1. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. การเขียนยุทธศาสตร์ 3. การนำเอาบทสรุปมาวิเคราะห์

20 จุดดี & จุดอ่อน ของ vipp
เป็นทางเลือกใหม่ของระบบการสัมมนา ที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น และมีความรู้สึกการเป็นเจ้าของสูง ทั้งยังสามารถเห็นถึงความคืบหน้าของกระบวนการได้โดยตลอด จุดอ่อน วิธีการนี้ไม่เหมาะกับกลุ่มสัมมนาที่มีจำนวนน้อย หรือกลุ่มที่มีจำนวนมากแต่มีเวลาน้อย

21

22

23

24

25

26

27

28

29


ดาวน์โหลด ppt Knowledge Management KM จุลชัย จุลเจือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google