งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 1 ยุทธศาสร์โลก MIS ยุทศาสตร์ประเทศ ศึกษาบทบาท และความสำคัญของสารสนเทศ การมองสถานการณ์โลกยุคต่างๆ จาก แนวคิดหลักของระบบตรรกศาสร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 1 ยุทธศาสร์โลก MIS ยุทศาสตร์ประเทศ ศึกษาบทบาท และความสำคัญของสารสนเทศ การมองสถานการณ์โลกยุคต่างๆ จาก แนวคิดหลักของระบบตรรกศาสร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 1 ยุทธศาสร์โลก MIS ยุทศาสตร์ประเทศ ศึกษาบทบาท และความสำคัญของสารสนเทศ การมองสถานการณ์โลกยุคต่างๆ จาก แนวคิดหลักของระบบตรรกศาสร์ (Logical system Backbone concept) เป็น Entity สิ่งแวดล้อม เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เป็นเรื่องของยุทธศาสตร์โลก ส่งผลกระทบ ความต้องการหลากหลายระดับของ Information processors ในขอบเขตระบบการบริหารจัดการที่ดีของประเทศทั่วโลก เป็นเรื่องของยุทธศาสตร์ของประเทศต่างๆ ซึ่งเป็นเหตุผลและหลักการ ประเทศต้องมีระบบสารสนเทศเพื่อการ จัดการ โดย สถาบันหรือองค์กรสมัยใหม่ ที่เป็นตัวแกนกลาง ในการบูร ณาการ กระบวนการพัฒนาระบบที่เป็นระเบียบวิธีการธรรมชาติ และ วิธีการวิทยาศาสตร์ของ Systems Analysis and Design

2 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 2 9.Environment: ยุคสารสนเทศ เศรษฐกิจใหม่/เสรี สังคมแห่งความรู้ Users/Clients/Customers/ Stakeholders/Individual/Group/Organization/Society/Nation/Socio-cultural innovation Globalization VS. 3” Powerful World Wide Change for Competitive Environment: Global Economy Emergence, Industrial Economies Transformation, Enterprise Transformation Logical system Backbone concept 10. การบริหารเชิงระบบข้อมูล I-MS 8.ขอบเขตการเร่งรัด การบริหารการพัฒนาระบบ (System Development Management) ภายใต้สาระ สารสนเทศองค์กร Organizational Information CONTEXT 2. OUTPUT ผลผลิตข้อมูล สารสนเทศ ความรู้องค์กร 5. VISION/POLICY/ Agenda/Mission/ Strategy/ Activity Schedule/ Plan 4. INPUT Entity ทรัพยากรข้อมูล องคกรที่มีอยู่ 3. PROCESSOR กิจกรรม การบริหาร จัดการทรัพยากร ข้อมูล องค์กร ระบบกระทำการ 1. OUTCOMES ผลลัพธ์ +- IP Environment satisfaction การเปลี่ยนแปลง ระบบกระทำการ ??? 7. ปรับวิเคราะห์ใหม่ FF 6. การติดตาม ประเมินผล คุณภาพสารสนเทศ โดยการประมวลสังเราะห์ KEY Performance Indicators ตัวชี้วัด (FB)

3 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 3 9.กระแสยุคสารสนเทศ จากต่างประเทศ MIS Environment: มี MIS ที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLC เช่น MIS ใน Forum UNDP, e_ASEAN Logical system Backbone concept ผลการดำเนินการในทุกส่วน 1-10 จะต้องมีการจัดการ IS และมีการใช้ LOGIC I-P-O (ต่อ) 10. ระบบการบริหารโดยสารสนเทศ (IMS) ในประเทศเกิดแนวคิด 8.มีการกำหนดกรอบ การจัดการสารสนเทศในองค์กร Organizational MIS ที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLC ขององค์กร เช่น มีกรอบ MIS ที่สะท้อนให้เห็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทิศทางการผลิตการตลาดของภาคธุรกิจ 3. PROCESSOR มี MISกระบวนการ ผลิต การค้า การขนส่ง ที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLCของภาค ธุรกิจ 1. OUTCOMES มี MIS ความ ต้องการซื้อสินค้า บริการที่เกิดจาก I- P-O Logic SDLC ของลูกค้าติดต่อซื้อ ขายกับธุรกิจ 2. OUTPUT มี MISผลผลิต สินค้าบริการ ที่เกิด จาก I-P-O Logic SDLCของโรงงาน ธุรกิจที่ผลิตและค้า 4. INPUT มี MIS การจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนกระบวน การผลิต การค้า การ ขนส่ง ที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLCของภาค ธุรกิจ 5. มี MIS :- VISION/ POLICY/Agenda/ Mission/Strategy/ Activity Schedule/Plan 7. 7. มี MISแผนม่บทในการกำหนดทิศทางการผลิต การตลาดที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLC ของภาคธุรกิจ 6. มี MIS AUDIT ข้อมูลการติดตาม ตรวจสอบ ให้เป็นไปตามแผนแม่บท ฯ และรายงานการปรับปรุง กระบวนการผิตการตลาดที่เกิดจาก I-P-O Logic SDLC ของภาคธุรกิจ ให้เป็นไปตาม KEY Performance Indicators ตัวชี้วัด (FB)

4 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 4 ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors (Value Chain) by Individual, Group, Organization, Society, Nation, World Methodology by Descriptive, Explanation, Forecasting TOOLS By Socio-cultural INNOVATION Management By ???????????????????????????? แนวทางศึกษา MIS จากนิยาม ENTITY SYSTEMS เป็นตัวระบบกระทำการ Information Processors FACTS Information Processors DATA Information Processors INFORMATION Knowledge Wisdom Intellectual Property (IP) ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ MDZ ? Kenneth E. Knight & Reuben R. McDaniel, Jr.,Organization: An Information Systems Perspective (Belmont Califf: Wadsworth publishing Company, Inc. 1979)

5 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 5 แนวทาง ยุทธศาสตร์ MIS

6 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 6 เหตุผลและหลักการระบบสารสนเทศ การศึกษา MIS รุ่น Classic: จะประยุกต์ใช้และพัฒนา ICT เข้ากับหน้าที่แบบเดิมๆจะได้ MIS เดิม โดยกระบวนการ SA หรือ จะปฏิรูปองค์กร BPR รู้จักใช้นวัตกรรมสังคมวัฒนธรรมใหม่ของ ICT ที่เกิดขึ้นตาม ยุคต่างๆ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กรผ่าน Web-based systems จะได้ MIS ในรูปแบบองค์กรใหม่สู่สังคมแห่งความรู้ หรือเศรษฐกิจดิจิตอล คำถามตามมาว่า การรียน IS เพื่อวัตถุประสงค์ธุรกิจ และแผนการ e-Business ?  Digital economy, KB society:- e-Strategy by Chick –and-mortar systems Dependent on ICT  Managerial orientation:- manager to know both Technical topics and Socio-behavioral topics, SCM and CRM are related to ICT  Functional relevance บทบาทหน้าที่ใหม่ขององค์กร:- Functional organization based on Click ICONS  E-Commerce and Web-based systems:- business world change  Real-world orientation and Global perspectives:- corporation using ICT  Integrated systems:- IS + SCM + CRM + ERP = Global e-Exchanges

7 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 7 การปฏิวัติเว็ปและดิจิตอลเนื่องจาก การเติบโตของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 1.เว็ปเปลี่ยนวิถีชิวิตของคนตั้งแต่เกิด เรียน ทำงาน และตาย 2.ผลกระทบทำให้ธุรกิจแข่งขันมากขึ้น โดยใช้ระบบ Web-based systems ก่อให้เกิดธุรกิจสากลในโลกเกิดขึ้นง่าย องค์กรจะต้องมีการปรับตัวอย่าง ขนานใหญ่ ว่าจะทำธุรกิจอย่างไรเช่น eCom, KM, CRM, ERP, SCM 3.การบริหารจัดการเทคโนโลยี ICT หรือ IT จะเป็นพื้นฐานหลักในการพัฒนา MIS Application Server Providers (ASPs) จะเป็นตัวพัฒนา Web-based systems ที่ชาญฉลาด ในสังคมเศรษฐกิจดิจิตอล ซึ่งรูปแบบองค์กรสมัยใหม่ จะต้องเข้าใจในแก่นนี้ ปัญหาธุรกิจส่วนใหญ่มักจะทำธุรกิจแข่งขันกันผ่าน Web-based system มากกว่าจะสนใจ ระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ (computerized information systems) แต่จะสนใจทำธุรกิจข้อ 2 หรือธุรกิจสนใจบริโภค นวัตกรรมมากว่าพัฒนานวัตกรรมสารสนเทศเองเองเช่นมี Search engine ดี แล้ว

8 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 8 การปฏิวัติเว็ปและดิจิตอลเนื่องจาก การเติบโตของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) 4.วิธีการที่รูปแบบองค์กรจะมีกระบวนการแปลงรูปสู่เศรษฐกิจดิจิตอลอย่างไร (Transforming Organizations to Digital Economy) โดยผ่าน ICT / IT ? facilitating problem solving, increasing productivity and quality, improving customer service, enhancing communication and collaboration, and enabling BPR องค์กรทำตัวอย่างน้อยดังนี้  ICT in the Organization  The Web Revolution  Organizational Applications  Managerial and DSS  Implementing and Managing ICT

9 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 9 การปฏิวัติเว็ปและดิจิตอลเนื่องจาก การเติบโตของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) 5.แนวทางแก้ไขปัญหา Efraim Turban, Ephraim McLean and James Wetherbe, Information Technology for Management transforming business in the digital economy,3 RD Ed. US: John Wiley & Sons, INC. 2002. ลงสู่ภาคปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดี (managerial-oriented approach)  การรู้จัก นวัตกรรม มาประยุกต์ใช้และพัฒนา IT เข้ากับ BPR ขององค์กร ทั้ง ผู้พัฒนา ผู้ใช้ และลูกค้า  สร้างทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Managing information resources)  ใช้นวัตกรรมใหม่และ ICT  องค์กรภาครัฐและเอกชนจะต้องใช้ปัจจัยดังกล่าวเป็น CSF เพื่อคงอยู่ใน ยุคเศรษฐกิจดิจิตอล

10 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 10 การปฏิวัติเว็ปและดิจิตอลเนื่องจาก การเติบโตของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ)  แนวทางแก้ไขปัญหานี้ ไม่เน้นการใช้เทคโนโลยีประยุกต์ใช้และพัฒนา เข้าสู่ระบบอำนาจหน้าที่เดิมขององค์กร Application เหมือนตำรา IS อื่นๆ แต่จะทำให้องค์กร Business Process Reengineering (BPR) ที่ แข่งขันใหม่ โดยแปลงรูปบทบาทอำนาจหน้าที่เดิมของตัวเองเข้าสู่ การ รู้จักใช้นวัตกรรม สังคมวัฒนธรรมองค์กร (Innovative) เพื่อใช้ IT  การใช้ ICT Code of Conduct/ Ethics เพื่อความตกลงวัฒนธรรม องค์กรใหม่  การรู้จักใช้นวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขององค์กรใน บทบาทของ Web, Internet, Intranets, Extranets และ eCom ซึ่งตัวนวัตกรรม Web จะเป็นแกนกลางในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ องค์กร(Transforming) ที่สามารถอำนวยความสะดวกในการพัฒนา ขีดความสามารถ ในการแข่งขันธุรกิจเช่น สถานการณ์ที่ต้องเผชิญ eCOM ยุคที่สองคือ m-Commerce, c-Commerce, e- Government รวมทั้งการบูณราการนวัตกรรม ERP, CRM, KM, e- Commerce

11 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 11 บทบาทสารสนเทศ Information Role มุมมองศึกษา MIS แง่ จุดมุ่งหมายเพื่อ M: มี ระบบสารสนเทศ เพื่อการ บริหารจัดการที่ดี (Good governance)รู้คิด รู้ทำ รู้แก้ มุมมองศึกษา MIS แง่ จุดมุ่งหมายเพื่อ I: มีระบบ สารสนเทศ เพื่อมีประเภท สารสนเทศที่ดี (Stakeholders requirements) รู้ความต้องการปัญหา มุมมองศึกษา MIS แง่ จุดมุ่งหมายเพื่อ S: มี ระบบสารสนเทศ เพื่อบูรณา การ การบันทึก เก็บรักษา ควบคุม ความมั่นคง ปลอดภัย และการใช้ ประโยชน์ครบวงจร รู้ธรรมชาติ การบริหารเศรษฐกิจการค้าของ ภาครัฐการบริหารเศรษฐกิจการค้าของ ภาครัฐ โปร่งใส ในการบริหารองค์กรที่ดี มีส่วนร่วมของพนักงานองค์กร และ ลูกค้า โดยไม่เลือกปฏิบัติ ตรวจสอบได้ ในขั้นตอนการทำงาน ขององค์กร การสร้างมูลค่าเพิ่มผลงานองค์กร การมีความตกลง พันธกรณี :นิตินัย ยุติธรรม คุณธรรม สารสนเทศเพื่อตอบสนอง การบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กรเช่นeGOV สารสนเทศเพื่อตอบสนองการกำหนดทิศ ทางการผลิตการตลาดภาคธุรกิจเช่น MkIS, eBIZสารสนเทศเพื่อตอบสนองการกำหนดทิศ ทางการผลิตการตลาดภาคธุรกิจเช่น MkIS, eBIZ สารสนเทศเพื่อตอบสนองการบอกเหตุ เตือน ภัย และติดตามประเมินสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลง และความรู้ขององค์กรและ สิ่งแวดล้อมเช่น KM สารสนเทศตอบสนองการประเมินเลือกสรร สินค้า บริการขององค์กรเช่นSearch สารสนเทศตอบสนองการกระจายข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ สาธารณชนeNewsletter Cohesion + Covariance ชุดของ ส่วนต่างๆที่มีลักษณะคุณสมบัติ หลากหลายรวมกันเป็นกลุ่มก้อนเป็น โครงสร้าง และมีหน้าที่ต่างๆกัน สามารถประสานเชื่อมโยง เปลี่ยนแปลงร่วมกัน เพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์และผลประโยชน์อัน เดียวกันเช่น ระบบไอซีที มีคน HW, SW, Network, Data, Procedures, Budget ทำหน้าที่ MIS ที่มีประสิทธิภาพและบรรลุ ประสิทธิผลของ ตัวProcessor ทุก ระดับ

12 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 12

13 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 13

14 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 14

15 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 15 การปฏิวัติเว็ปและดิจิตอลเนื่องจาก การเติบโตของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) 6.แนวทางแก้ไขปัญหา Kenneth C. Laudon and Jane P. Laudon, Management Information Systems: Managing the Digital Firm, 8 Ed., NJ: Pearson Education Inc., 2004. 1)MIS เพื่อการจัดการ ผู้ประกอบการธุรกิจเชิงดิจิตอล ขึ้นกับหลักฐาน การมีองค์ความรู้ระบบสารสนเทศ ที่จำเป็นต่อการสร้างสรรค์การแข่งขัน เชิงธุรกิจ การจัดการบริษัทข้ามชาติ การสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ การอำนวยผลประโยชน์ผลิตภัณฑ์และบริการต่อลูกค้า 2)องค์กรวิสาหกิจต้องเผชิญกับแนวทางบูรณาการการดำเนินการธุรกิจ ดิจิตอล เข้ามามีบทบาทในการทำธุรกิจการแข่งขัน เพราะการใช้ อินเทอร์เน็ตของแต่ละองค์กรธุรกิจ จะมีบริษัทด้านไอซีทีเข้ามาทำ หน้าที่ ASP: Application Server Providers ให้กับผู้ประกอบการผลิต ผู้บริโภค และลูกค้า ทำให้ ASP สามารถใช้ IS ทำหน้าที่ผูกขาด Virtually Close ทำให้การบริหารจัดการภายในและภายนอกของ วิสาหกิจใดๆ ถูกแทรกซืมด้วยระบบดิจิตอลทุกขั้นตอนทั้งด้าน e-Bis, e-Com ตั้งแต่อุตสาหกรรมต้นน้ำถึงปลายน้ำ ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Collaboration)ด้วยระบบดิจิตอล

16 MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 16 แนวทางศึกษา ระบบสารสนเทศที่ดี ???


ดาวน์โหลด ppt MIS: Pichai Takkabutr EAU 2005 1 ยุทธศาสร์โลก MIS ยุทศาสตร์ประเทศ ศึกษาบทบาท และความสำคัญของสารสนเทศ การมองสถานการณ์โลกยุคต่างๆ จาก แนวคิดหลักของระบบตรรกศาสร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google