ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThath Boonmee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การดำเนินงานธุรกิจบริการสุขภาพและปัญหาอุปสรรคของธุรกิจเครื่องสำอาง
นิพนธ์ เผ่านิ่มมงคล อุปนายกสมาคมผู้ผลิตเครื่องสำอางไทย
2
การดำเนินงานตามกรอบ ASEAN Harmonization
Agreement on ASEAN Harmonization การร่างกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียน Pre Harmonization การเตรียมเข้าสู่ Harmonization (3 ปี) Implemention การเริ่มใช้กฏหมาย Asean Cosmetic Harmonization
3
Agreement on ASEAN Harmonization
ขั้นตอนการร่างกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียน คณะทำงานร่างกฎหมายที่ไปประชุมในต่างประเทศ เจ้าหน้าที่จากภาครัฐ เจ้าหน้าที่จากภาคเอกชนและสมาคม คณะทำงานร่างกฎหมายที่ไม่ได้ร่วมประชุมในต่างประเทศ ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ
4
Agreement on ASEAN Harmonization
ปัญหาและอุปสรรค กฎหมายเครื่องสำอางไทยบางข้อมีความแตกต่างจาก Asean เนื่องจากคณะทำงานบางท่านไม่ได้เข้าประชุมในต่างประเทศจึงไม่ เข้าใจข้อตกลงอย่างถี่ถ้วน การแก้กฎหมายทำด้วยความยากลำบากเนื่องจากต้องเสนอผ่าน รัฐสภา จึงมีความจำเป็นที่ต้องแก้เหตุการณ์เฉพาะหน้าโดยการใช้ กฎหมายใกล้เคียงนำมาประยุกต์
5
Pre Harmonization ระยะเวลาการดำเนินการเตรียมเข้าสู่ ASEAN Harmonization 3 ปี ( ) การจดแจ้ง (Notification) ที่ One stop Service ทำได้น้อยรายการแต่เจ้าหน้าที่ให้ความ ช่วยเหลือได้มาก ทาง Electronic ทำได้รวดเร็วในกรณีที่เอกสารถูกต้องสมบูรณ์ แต่ถ้า ติดขัดไม่ถูกต้องในบางขั้นตอนต้องกลับมาเริ่มใหม่ทำให้เกิดความล่าช้า เจ้าหน้าที่ควรตรวจข้อผิดพลาดทั้งหมดแล้วทำการแจ้งให้ทราบในครั้งเดียว หัวข้อใหม่ของกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียนที่ผู้ประกอบการ SME ยังไม่ เข้าใจและมีปัญหาในการปฏิบัติ (PIF,GMP,PRODUCT SAFETY and EFFICACY)
6
Implementation การเริ่มใช้กฎหมาย ASEAN Cosmetic Directive ใน วันที่ 1 มกราคม 2554 ควรยืดระยะเวลาออกไปอีก 1-2 ปี
7
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
การร่างกฎหมายบางข้อบางประเด็นควรปรับให้สอดคล้องกับกฎหมาย เครื่องสำอางอาเซียน เช่น สินค้าในกลุ่ม Whitening มีปัญหาในเรื่องการ จดแจ้ง , การ Claim , การเขียนฉลาก ทำให้สินค้าไทยเกิดความเสียเปรียบ เพื่อนบ้านในตลาดอาเซียน การจดแจ้งเป็นไปด้วยความช้าเนื่องจากมีรายการที่ต้องจดแจ้งมาก ไม่สามารถทำ ได้ทันเวลา ถึงแม้เจ้าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือและทำงานอย่างเต็มที่แล้ว ควร ยืดเวลาผ่อนผันไปอีก 1-2 ปี
8
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
3. ควรปรับปรุง Program การยื่นจดแจ้งทาง Electronic ให้สะดวก รวดเร็วขึ้น และควรจดแจ้งนอกเวลาราชการได้ ขณะนี้งดจดแจ้งจนถึง 15 กันยายน ข้อกำหนดการใช้สารต่างๆ ควรยึดถือตามภาคผนวก (Annex) ใน Asean Cosmetic Directive เป็นหลัก เช่น การใช้สาร DEA PIF , GMP , Product safety and efficacy ยังคงต้อง เป็นปัญหาสำหรับ SME ควรมีการอบรมสัมนาให้ความรู้มากขึ้นและควรยืด ระยะเวลาผ่อนผันไปอีก 1-2 ปี
9
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
6. ชื่อสินค้าที่มีคำว่า Gold, Diamond , Silver ไม่ควรบังคับให้มีการ เขียนระบุ “ไม่มีส่วนผสมของทอง,เพชร,เงิน” ในทุกตัวสินค้า 7. ควรมีการ Update ข้อมูล Ingredients ใหม่ๆ ในสินค้า Whitening หรือ Antiaging ตามข้อปรับปรุงในภาคผนวกของ ACD 8. ควรสนับสนุนให้ใช้สมุนไพรไทยโดยอ้างอิงผลวิจัยจากมหาวิทยาลัยที่เป็นที่ยอมรับ
10
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.