ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSatra Ornwimol ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2
ระดับ นโยบาย ประเด็น รัฐบาล รัฐมนตรี สธ. ปลัดกระทร วง ข้อที่ 1 “ พัฒนาคุณภาพและ สุขภาพคนไทยในทุกช่วง วัย ” ข้อที่ 2 มีหลักปฏิบัติที่เท่า เทียมกันต่อประชาชนคน ไทยทุกคน นายกรัฐมน ตรี นโยบาย ข้อ 1.14 พัฒนา ระบบประกันสุขภาพ “ สร้างความเป็นเอกภาพ ลด ความเหลื่อมล้ำ 3 กองทุน ” นโยบายข้อที่ ๒ คือ เพิ่ม คุณภาพระบบหลักประกัน สุขภาพ ขับเคลื่อนดำเนินการ ประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง จัดตั้งศูนย์ประสานงาน เจ็บป่วยฉุกเฉิน ดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล บริการเจ็บป่วย ฉุกเฉิน ข้อสั่งการ ประกาศนโยบาย 28 มีค 2555 ” การสร้างความเสมอภาคทั้ง 3 กองทุน ไม่ได้ รวม 3 กองทุน ให้ประชาชน ได้รับบริการที่มีคุณภาพ อย่าง ทันท่วงที และมีการดูแลบริการที่จำเป็นอย่างทั่วถึง ภายใต้หลักการพื้นฐานเดียวกัน ไม่เหลื่อมล้ำ และไม่แตกต่างกัน “ หน่วยบริการทุกแห่งในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข ให้บริการผู้ป่วยทุกสิทธิตามระบบ ปกติ ขอความร่วมมือ หน่วยบริการในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขเป็นสถานพยาบาลรับส่ง ต่อผู้ป่วยจากสถานบริการภาคเอกชน หลังจาก ให้บริการผู้ป่วยจนทุเลา กำหนดแนวทางปฏิบัติ ๑)ให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินทันที ๒)ไม่ตรวจสอบสิทธิก่อนรักษา ๓)ผู้ป่วยไม่ต้องสำรองจ่าย
3
UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน จ่าย (ต่างกัน) ไม่สะดวก “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ในระบบหลักประกัน 3 กองทุน” รพ.นอก หลักประ กัน รพ. สธ. 1 รพ. คู่สัญญา หลัก <<< ความเหลื่อมล้ำ
4
UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน การเบิกจ่าย อาการป่วย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” รพ. นอก สธ. รพ. สธ. รพ.ต้น สังกัด สธ. รพ.1 รพ.2 1 2 3 <<< ลดความเหลื่อมล้ำ ผู้ป่วยเข้ารับบริการทุกที่ สถานบริการได้รับ การชดเชยบริการ
5
UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน การเบิกจ่าย อาการป่วย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” รพ. นอก สธ. รพ. สธ. รพ.ต้น สังกัด สธ. รพ.1 รพ.2 1 2 3 ไม่มีปัญหา ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 ไม่มีปัญหา ยังมีปัญหา
6
ผลการดำเนินบริการ (ข้อมูล วันที่ 1เมย.-31พค. 2555) ผู้ใช้บริการ 3 กองทุนทั้งหมด 2,019 ราย 100% แบ่งเป็นในเขตกรุงเทพและปริมณฑล 1,202 ราย 59% ในภูมิภาค 817 ราย 41% แบ่งประเภทผู้ป่วยเป็น ผู้ป่วยนอก 571 ราย 28% ผู้ป่วยใน 1,448 ราย 72% แบ่งประเภทสิทธิของผู้ป่วย แยกเป็น สิทธิบัตรประกันสุขภาพ 1,423 ราย 70% ข้าราชการ 348 ราย 17% ประกันสังคม 234 ราย 12% และสิทธิอื่นๆ 14 ราย 1% การรียกเก็บ บันทึกข้อมูลเบิกในระบบ2,004 ราย 99% ยังไม่บันทึก 15 ราย 1%
7
ผลการดำเนินบริการ (ข้อมูล วันที่ 1เมย.-31พค. 2555) ผู้ใช้บริการ 3 กองทุนทั้งหมด 2,019 ราย 100% อาการ/โรคที่รับบริการ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด319 ราย16% โรคระบบทางเดินหายใจ204 ราย10% โรคสมอง ระบบประสาท165 ราย 8% การบาดเจ็บรุนแรง575 ราย 28% อาการฉุกเฉินรุนแรงอื่นๆ756 ราย 38% ประเภทนำส่ง/มาเอง / ญาติมาส่ง1,646 ราย 82% รถกู้ชีพ EMS1669 189 ราย 9% อื่นๆ 184 ราย 9%
8
บทสรุป 1. การบริการในสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขไม่มีปัญหาอุปสรรค 2. การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ไม่มีปัญหาอุปสรรค 3. การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกรุงเทพมหานคร ปัญหาที่ได้ดำเนินการแก้ไข ด้านประชาสัมพันธ์อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รุนแรง เป็นอันตรายถึงชีวิต ที่ต้องนำผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาล โดยเฉพาะโรงพยาบาลใกล้ ที่เกิดเหตุ ที่ตรงตามวัตถุประสงค์ 4. ปัญหาที่ต้องพัฒนา 4.1 ระบบส่งต่อจากโรงพยาบาลแรกที่ให้บริการและอยู่ระบบ 3กองทุนไปยัง โรงพยาบาลต้นสังกัด ผู้ป่วยสิทธิประกันสังคม ใช้ระบบส่งต่อเดิม ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพและสิทธิข้าราชการ ใช้ส่งต่อ1330 4.2 กระทรวงสาธารณสุขจัดระบบส่งต่อรับจากกรุงเทพมหานครไปยังรพ.ปริมณฑล 4.3 การชดเชยบริการ ผู้ป่วยรับบริการรพ.เครือข่ายสังกัด3กองทุน ใช้เงื่อนไขเดิม ผู้ป่วยรับบริการรพ.นอกสังกัด3กองทุน เมื่ออาการดีขึ้น ให้ย้ายไปยังรพ.ต้นสังกัด แต่หากพ้น24ชั่วโมง ไปแล้วไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ให้ 3 กองทุนพิจารณาชดเชย การบริการในอัตราต้นทุน หรือ อัตราบริการที่ลด209% 4.4 พัฒนาระบบส่งต่อ จัดระบบ SupraContractor Pooling System จัดหารพ.ในกรุงเทพมหานครรองรับที่กำหนดชดเชยบริการที่เหมาะสม
9
แนวทางดำเนินการ 1. ดำเนินการตามนโยบายต่อไป 2. ติดตาม กำกับ การบริการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 3. พัฒนาห้องฉุกเฉินให้มีสมรรถนะ พร้อมบริการ 4.จัดระบบส่งต่อ-รับผู้ป่วย รวมทั้งจัดตั้งศูนย์รับ-ส่งต่อผู้ป่วย 5. สำรองเตียงผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยกึ่งหนัก 6. พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน 7.ประชาสัมพันธ์การใช้บริการตามนโยบาย 8. รายงานการใช้บริการ ปัญหา-แนวทางพัฒนา และการชดเชยบริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.