ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 5 สีและการจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 5 สีและการจัดองค์ประกอบของภาพ
2
สี องคประกอบแหงอารมณ : Colour
สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณการสื่อความหมายที่เดนชัด และกระตุนตอการรับรูของคนเราไดเปนอยางดี องคประกอบสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู 3 ประการ คือ สี, เนื้อสี (Hue) น้ำหนักสี (Value / Brightness) ความสดของสี (Intensity / Saturation)
3
สี,เนื้อสี HUE เนื้อสี หรือ Hue คือความแตกตางของสีบริสุทธิ์แตละสี ซึ่งเราจะเรียกเปนชื่อสี เชน สีแดง สีน้ำตาล สีมวง เปนตน โดยแบงเนื้อสีออกเปน 2 ชนิด ดวยกันคือ สีของแสง (Coloured Light) สีของสาร (Coloured Pigment)
4
การผสมสี จากการที่เรามองเห็นสีของสารตาง ๆ นี่เอง จึงคนพบวามีสีอยู 3 สีที่เปนตนกําเนิดของสีอื่น ๆ ที่ไมสามารถสรางหรือผสมใหเกิดจากสีอื่นได หรือที่เราเรียกกันวา “แมสี” ไดแก แดง, เหลือง, น้ำเงิน จริงๆแล้วสีที่เรามองเห็นเกิดจาการผสมสี ใน 2 รูปแบบคือ additive colours Subtractive colours
5
วงจรสี (Colour Wheel) วงจรสีนั้นก็คือการวางเนื้อสี Hue ที่เราพูดกันมากอนหนานี้ โดยเรียงกันตามการผสมสีของสารที่เรามองเห็น โดยตัวอยางของแบบจําลองวงจรสีที่จะหยิบยกมาศึกษากันนี้ เปนแบบ 12 สีมาตรฐานที่ใชกันอยูในปจจุบัน
6
วงจรสี (Colour Wheel)
7
สีโทนรอน – สีโทนเย็น เรื่องของสีอีกเรื่องหนึ่งซึ่งเปนเรื่องสําคัญในการออกแบบคือ เรื่องของเนื้อสีที่แบงออกเปน 2 กลุมตามอุณหภูมิของสีคือ สีโทนรอนและสีโทนเย็นโดยจะสังเกตไดงายในวงจรสี ► สีโทนเย็น ใหความรูสึก เรียบ สงบ เยือกเย็น ลึกลับ มีระดับ ► สีโทนรอน ใหความรูสึกมีพลัง อบอุนสนุกสนาน และดึงดูดความนา สนใจไดดี
8
การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกอบอุ่น
Artist: Jan Vermee Title: Girl Asleep at a Table Year: 1657 Form of Art: realistic Color Scheme: warm (red, red-orange, orange, yellow-orange, yellow and values)
9
การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกเย็น
Artist: Pablo Picasso Title: Femme Allonge Lisant (Marie-Thrse) Year: 1939 Form of Art: abstract Color Scheme: cool (yellow-green, green, blue-green, blue-purple and values) 9
10
น้ำหนักสี Value น้ำหนักสีก็คือ เรื่องของความสวางของสี หรือการเพิ่มขาวเติมดําลงในเนื้อสีที่เรามีอยู และการปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีนี่เองที่ทําใหภาพดูมีมิติ ดูมีความลึก หรือที่เราเรียกกันวา โทน Tone น้ำหนักสีของสาร เราจะเรียกวา น้ำหนักสี Value สวนน้ำหนักสีของแสงนั้น เราจะเรียกวาความสวาง Brightness
11
น้ำหนักของสี (Value) น้ำหนักของสี คือความสว่างของสี หรือการเพิ่มขาว เติมดำลงไปในเนื้อสี การปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีจะทำให้ภาพดูมีมิติ มีความลึก ค่าสีน้ำหนักสูง ความสว่างต่ำ ค่าสีน้ำหนักปานกลาง ความสว่างปานกลาง ค่าสีน้ำหนักต่ำ ความสว่างสูง
12
น้ำหนักสี Value ► การปรับเปลี่ยนน้ำหนักสี
ทําใหภาพ 2 มิติ มีความลึกเปน 3 มิติ ►คาความสวางนี้เราจะเรียกกันวา “โทน Tone” ซึ่งกําหนดความมีมิติ หรือ ความลึกให้ภาพ 12
13
ความสดของสี Intensity / Saturation
การลดความสดของสีก็เพื่อไมใหภาพงานที่ออกมานั้นดูฉูดฉาด จนเกินไป เรียกอีกอยางวา เปนการเบรกสี 1. ศิลปนมักจะใชสีน้ำตาลเติมลงในสีที่ต้องการให้ความสด ของสีนอยลงนั่นเอง 2. ปจจุบันเราใชคอมพิวเตอรในการออกแบบการลดความสด ของสีลง เช่น Photoshop คลิกเมนู Image>Adjust>Hue & Saturation หรือกดคีย <Ctrl+U>
14
ความสดของสี Intensity / Saturation
► ภาพกอนทําการลดความสด Saturation ของสี ► ภาพหลังทําการลดความสด Saturation ของสี
15
การเลือกสีมาใชงาน Colour for Design
การเลือกเนื้อสี Choose Hue การเลือกน้ำหนักสี Choose Value การเลือกความสดของสี Choose Saturation
16
การเลือกเนื้อสี Choose Hue
ในการเลือกเนื้อสีมาใชงานเราจะเลือกจาก ความหมายของเนื้อสีแตละสี เช่น สีเงิน จะนึกถึงสิ่งใหม่ๆ ความทันสมัย เลือกเนื้อสีที่อยูดวยกันแลวดูดีดูเหมาะสม และ คำนึงถึงผู้ใช้งาน (User Target) เช่น ถ้าออกแบบงาน ที่ใช้กับเด็ก ควรเลือกใช้แม่สี เพื่อให้เด็กสังเกตและ รับรู้ได้ง่าย
17
ความหมายของสี สีแดง อ้างอิงมาจากไฟ จึงให้อารมณ์ของความร้อน พลัง พลังงาน ความแรง และความเป็นมงคลตามความเชื่อของชาวจีน สีเหลือง ให้ความสดใส ปลอดโปร่ง ดึงดูดสายตา สีน้ำเงิน ให้ความสงบเรียบ สุขุม มีราคา หรูหรามีระดับ บางครั้งสื่อถึงความสุภาพ หนักแน่น ผู้ชาย สีส้ม ให้ความรู้สึกดึงดูด ทันสมัย สดใส กระฉับกระเฉง มีพลัง สีม่วง ให้อารมณ์หนักแน่น มีเสน่ห์ ความลับ สิ่งที่ปกปิด
18
ความหมายของสี สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น ธรรมชาติ เย็นสบาย
สีชมพู ให้ความอ่อนหวาน นุ่มนวล ความรัก วัยรุ่น ผู้หญิง สีน้ำตาล ให้ความสงบ ความเรียบ ความเป็นผู้ใหญ่ ความเก่าแก่โบราณ บางครั้งสื่อถึงไม้ แมกไม้ สีฟ้า ให้ความรู้สึกโปร่งโล่งสบายตา นุ่มนวล สุขสบาย สีเงิน ให้ความรู้สึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ทันสมัย มีคุณค่า มีราคา
19
ความหมายของสี สีทอง เป็นตัวแทนของความมีคุณค่า ความหรูหรา ราคาแพง
สีขาว สื่อถึงความบริสุทธิ์ สะอาด เรียบง่าย ความโล่ง ความว่างเปล่า สีเทา ให้อารมณ์เศร้า หม่นหมอง ไร้ชีวิตชีวา บางครั้งสื่อถึงความเป็นกลาง สีดำ ซ่อนความไม่รู้ ความน่ากลัว บางครั้ง จะใช้สีดำหรือสีเข้ม เพื่อเน้นขับสิ่งที่อยู่ภายในให้เด่นชัด จึงมักนิยมใช้เป็นสีพื้น
20
การเลือกน้ำหนักสี Choose Value
การเลือกน้ำหนักสีจะเปนขั้นตอนถัดมาหลังจากเราเลือกสีไดแลว น้ำหนักของสีมีอิทธิพลตอความมืดสวางในภาพ ซึ่งใหอารมณของภาพที่แตกตางกันไป
21
การเลือกความสดของสี Choose Saturation
การเลือกความสดของสีเปนเรื่องสุดทายในการเลือกสี เพื่อออกแบบงานสีที่มีความสดสูงจะใหความรูสึกรุนแรง ตื่นตัวสะดุดตา ในขณะที่สีที่มีความสดนอยหรือสีหมน จะใหความรูสึกสงบ ไมโดดเดน หมนหมอง เศรา ถาสีที่มีความสดอยูในระดับกลางจะใหความรูสึกพักผอน สบายตา
22
การวางโครงสี Colour Schematic
กล่าวคือทฤษฎีสีของการใชสี หรือการเลือกสีมาใชรวมกันใน ภาพ เพื่อใหภาพออกมาดูดี ดูนาพอใจ เรียกวา Colour Schematic หรือการวางโครงสี (ซึ่งบางคนก็คุนกับ คําวา การจับคูสีการเลือกคูสี) Monochrome Analogus Dyads Triads Tetrads
23
Monochrome คือโครงสีเอกรงค คือมีเนื้อสี Hue เดียว แตใหความแตกตางดวยน้ำหนักสี Value
24
การวางโครงสี (Color Schematic)
การวางโครงสี คือการจับคู่สี หรือเลือกสี เพื่อใช้ร่วมกันในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาดูดี ดูน่าพอใจ Monochrome คือการมีเนื้อสีเดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสี การใช้สีแบบนี้ให้อารมณ์ความรู้สึกสุขุม เรียบร้อย เป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา
25
ตัวอย่างภาพแบบ Monochromatic
Artist: Marc Chagall Title: Les Amants Sur Le Toit Form of Art: abstract Color Scheme: monochromatic (blue and values) 25
26
Analogus หรือโครงสีขางเคียง คือสีที่อยูติดกัน อยูขางเคียงกันในวงจรสี จะเปนทีละ 2 หรือ 3 สีหรือบางทีอาจจะใชไดถึง 4 สี แตก็ไมควรมากกวานี้
27
การวางโครงสี (Color Schematic)
Analogous หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกันในวงจรสี จะเป็นทีละ 2 หรือ 3 สี หรืออาจจะถึง 4 สี จะทำให้ภาพโดยรวม ได้อารมณ์ไปในกลุ่มโทนสีนั้น และไม่ดูฉูดฉาดเกินไป
28
ตัวอย่างภาพแบบ Analogous
Artist: Vincent van Gogh Title: The Iris Year: 1889 Form of Art: realistic Color Scheme: analogous (yellow, yellow-green, green, blue-green and values) 28
29
Dyads คือโครงสีคูตรงขาม Complementary Colour คือสีที่อยูตรงขามกันในวงจรสี การเลือกใชสีคูตรงขามจะทําใหงานที่ไดมีความสะดุดตาในการมอง ควรแบงพื้นที่ของสีในภาพของการใชสีใดสีหนึ่งมากกวาอีกสีหนึ่ง โดยประมาณมักจะใชสีหนึ่ง 70% อีกสีหนึ่ง 30% ภาพที่ไดก็จะ คงความมีเอกภาพอยู และยังมีความเดนสะดุดตาไปไดในตัว
30
การวางโครงสี (Color Schematic)
Complementary Color คือการใช้คู่สีตรงข้าม คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมอง แต่ควรระวัง ถ้าใช้สีคู่ตรงข้ามในพื้นที่ใกล้เคียงกัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ โดยทั่วไปควรจะใช้สีหนึ่งประมาณ 70% อีกสี 30%
31
ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้สีคู่ตรงข้าม
Dyads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้สีคู่ตรงข้าม
32
ตัวอย่างภาพแบบ Complementary
Artist: Paul Cezanne Title: La Montage Saint Victoire Year: Form of Art: abstract Color Scheme: complementary (blue, orange and values) 32
33
Triads Triads หรือโครงสี 3 สี คือ
เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 เทากัน ถาเราลากเส้นระหวางสีทั้ง 3 สี เราจะไดสามเหลี่ยมดานเทา เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 ไมเทากัน คือ มีชวงหาง 2 ชวงเทากัน แตกับอีกด้านหนึ่งชวงหางจะมีความยาวกวา ถาลากเสนระหวางสีดังกล่าวแลวจะได้รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
34
ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 3 สี
Triads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 3 สี
35
Tetrads Tetrads หรือโครงสี 4 สี คือ
การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีเทากันหมด กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะไดสี่เหลี่ยมจัตุรัส การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีไม่เทากัน โดยชวงหางของ 2 สีเปนชวงสั้นและอีก 2 สีเปนชวงยาว กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะได้สี่เหลี่ยมผืนผา
36
Tetrads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 4 สี
37
การจัดองค์ประกอบภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
38
การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition
การจัดวางองค์ประกอบภาพ คือการจัดวางองค์ประกอบที่มีอยู่ในภาพให้ได้ภาพรวมของงานที่สวยงาม และสื่อความหมาย ซึ่งมีหลักการ 2 อย่าง การสร้างเอกภาพ (Unity) การสร้างจุดเด่น เน้นจุดสำคัญ (Emphasize) การวางจุดสนใจในงาน Focus Point การสรางความแตกตางในงาน Contrast การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเดน Isolation
39
การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition
สมดุลในงานออกแบบ Balance ขนาดและสัดส่วนขององคประกอบ Scale & Proportion ที่วางในงานออกแบบ Spacing
40
เอกภาพ คือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นจุดเริ่มต้นในการจัดองค์ประกอบของภาพ องค์ประกอบในภาพ ต้องมีความกลมกลืนกัน เป็นพวกพ้องกัน ไม่ขัดกัน
42
การวางจุดสนใจในงาน การวางตำแหน่งขององค์ประกอบที่จะเน้นให้เกิดจุดสนใจ จะวาง ในตำแหน่งที่ 1,3,2 และ 4 เป็นหลัก โดยแต่ละตำแหน่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป 1 2 4 2 3
43
การวางจุดสนใจในงาน ตำแหน่ง 0 เป็นตำแหน่งที่ไม่ควรวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เพราะเป็นตำแหน่งที่สายตาคนส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจนัก เพราะอยู่ในช่วงครึ่ง ๆ กลาง ๆ ของภาพ ซึ่งลดแรงดึงดูดทางสายตา ตำแหน่ง 1 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่เห็นเป็นอันดับแรก เนื่องจากความเคยชินในการกวาดตาเพื่ออ่านหนังสือ ตำแหน่ง 2 เป็นตำแหน่งที่มีพลังในการดึงดูดสายตา มีความเฉียบ จึงเหมาะที่จะจัดวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่เรียกร้องความสนใจจากสายตาได้ดี
44
การวางจุดสนใจในงาน ตำแหน่งหมายเลข 3 เป็นตำแหน่งที่สืบเนื่องมาจากตำแหน่งที่ 1 เพราะเป็นตำแหน่งสุดท้ายที่คนส่วนใหญ่กวาดสายตามอง ตำแหน่งหมายเลข 4 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่มักจะให้เป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญที่สุดในงาน ถึงแม้จะไม่เป็นจุดเรียกร้องสายตามากเท่ากับจุด 1,2,3 แต่ก็เป็นจุดรวมสายตาของผู้ชมที่มีต่องาน ตำแหน่ง 1 กับ 3 จะมีพลังในการดึงดูดสายตามากกว่าตำแหน่ง 2 เพราะคนส่วนใหญ่มักกวาดสายตาจากมุมซ้ายบน ไปยังมุมขวาล่าง ตำแหน่ง 0 สามารถวางองค์ประกอบให้น่าสนใจได้ เพราะบางครั้งทิศทาง หรือเส้นสายจากองค์ประกอบอื่น ๆ อาจพุ่งเน้นมายังตำแหน่งนี้ก็ได้
45
ตัวอย่างการจัดองค์ประกอบ
1 2 4 45
46
การสร้างความแตกต่าง ความแตกต่างเป็นตัวกำหนดน่าสนใจหรือความโดดเด่นของภาพได้ดี แต่ไม่ควรให้มีความแตกต่างมากเกินไป เพราะจะทำให้ภาพไม่มีเอกภาพ มากกว่าจะก่อให้เกิดจุดสนใจ ภาพตัวอย่าง เป็นการใช้ภาพที่โดดเด่น แตกต่างจากพื้นหลังสลัว ขับให้ภาพของอุปกรณ์ดูคมชัด และโดดเด่นขึ้น
47
การสร้างความแตกต่าง
48
การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น
การวางองค์ประกอบให้โดดเด่น คือการแยกองค์ประกอบออกมา ให้ผู้ชมงานสังเกตุเห็นองค์ประกอบนั้นได้ง่าย แต่ต้องคำนึงถึง ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ (Scale & Proportion) ที่ว่างในงานออกแบบ(Spacing) สมดุลในงานออกแบบ (Balance) จังหวะขององค์ประกอบในงาน (Rhythm)
49
ตัวอย่างการวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น
49
50
ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ Scale & Proportion
ขนาดขององค์ประกอบมีบทบาทในการกําหนดความสำคัญขององค์ประกอบนั้น ๆ องค์ประกอบขนาดใหญ่จะสื่อ ความหมายว่าตัวเองสำคัญกว่าองค์ประกอบที่มีขนาดเล็ก ที่ว่างในงานออกแบบ Spacing Spacingที่ว่างที่อยู่รอบ ๆ องค์ประกอบในภาพจะสอดประสานกับองค์ประกอบที่อยู่ในภาพ ทำให้ภาพเกิดความเป็นภาพ และมีอิทธิพลในการสื่อความหมายได้
51
Scale & Space
52
สมดุลในงานออกแบบ Balance
การจัดองคประกอบงานออกแบบ การสร้าง ความสมดุลขององค์ประกอบ ช่วยให้ภาพรวมของงานดูดี แบ่งออกเปน 2 ชนิด 1.สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางเหมือนกัน 2.สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางไม่เหมือนกัน
53
สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางเหมือนกัน
53
54
สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางไม่เหมือนกัน
55
Reference สู่เส้นทางกราฟิกดีไซเนอร์ โดยโสรชัย นันทวัชรวิบูลย์ สำนักพิมพ์ ARiP Color for E-Commerce การออกแบบงานกราฟฟิก : Graphic Designer
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.