งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิรูปโครงการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิรูปโครงการสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฏิรูปโครงการสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น/ตำบล ตอนที่ 1

2 ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเนื่องจากจะนำไปสู่ การสร้างนวัตกรรมสังคม
ในระดับท้องถิ่น/ตำบล การบูรณาการ จะเป็น นวัตกรรมการจัดการ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเนื่องจากจะนำไปสู่ การสร้างนวัตกรรมสังคม

3 วิวัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐานของประเทศไทย
บริการ พัฒนา

4 กระบวนการบูรณาการ กำหนดองค์ประกอบพื้นฐานและบทบาทที่ต้องบูรณาการ

5 กระบวนการบูรณาการ กำหนดกิจกรรมสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

6 กำหนดค่ากลางที่คาดหวัง
กระบวนการบูรณาการ กำหนดค่ากลางที่คาดหวัง ชุดงาน กิจกรรมในโครงการ

7 องค์ประกอบของการบูรณาการ
กระบวนการบูรณาการ องค์ประกอบของการบูรณาการ ระดับเขต/จังหวัด ระดับท้องถิ่น/ตำบล

8 การบูรณาการมี 2 แบบที่ดำเนินการในระดับพื้นที่
กระบวนการบูรณาการ การบูรณาการมี 2 แบบที่ดำเนินการในระดับพื้นที่ บูรณาการแบบที่ 2 บูรณาการแบบที่ 1 กิจกรรมฝ่าย สนับสนุน กำหนดงานของฝ่ายปฏิบัติและสนับสนุนสำหรับประเด็นเหล่านี้ บูรณาการงานสำหรับกลุ่มเป้าหมายเข้าด้วยกัน งานที่เป็นค่ากลางคืออะไร? 6 กิจกรรมสำคัญของฝ่ายปฏิบัติ บูรณาการงานสำหรับสภาวะแวดล้อมเข้าด้วยกัน งานที่เป็นค่ากลางคืออะไร?

9 กระบวนการสร้างโครงการแบบบูรณาการ
บูรณาการงานในกิจกรรม ที่เหลือเข้าสู่กิจกรรมสำคัญ จัดลำดับความสำคัญของ กิจกรรม SRM กำหนดงาน ของประเด็นทั้ง 4 กำหนดงาน ของประเด็นทั้ง 3

10 การบูรณาการเพื่อเปลี่ยนผ่านความรับผิดชอบสู่ภาคประชาชน
กระบวนการบูรณาการ การบูรณาการเพื่อเปลี่ยนผ่านความรับผิดชอบสู่ภาคประชาชน โครงการรายกิจกรรม โครงการรายประเด็น ภาครัฐ Innovate & Create ภาคประชาชน Command & Control

11 พื้นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้เปิดโครงการที่ 3
“โครงการส่งเสริมนวัตกรรมสังคม” เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงการบริหาร จัดการตนเองของประชาชน และ สร้างความเชื่อมโยงกับระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจของตำบล

12 และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (ทั้งหมดคือเรื่องเดียวกัน)
สรุป : การบูรณาการมีรากฐานมาจากการจัดการค่ากลาง และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (ทั้งหมดคือเรื่องเดียวกัน)

13

14 โครงการแบบเดิม (แยกประเด็น) โครงการแบบเดิม (แยกประเด็น)
ตารางเปรียบเทียบการใช้ทรัพยากร รพ.สต. โครงการแบบบูรณาการ โครงการแบบเดิม (แยกประเด็น) รพ.สต. บ้านบวก ครกเหนือ ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี งบประมาณ 1. การจัดการกลุ่มเป้าหมาย 140,650 บาท 2. การจัดการสิ่งแวดล้อม 117,250 บาท รวม 257,900 บาท 1. โครงการดูแลผู้สูงอายุ 42,000 บาท 2. โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 17,300 บาท 3. โครงการป้องกันวัณโรคและโรคเอดส์ 20,140 บาท 4. โครงการอาหารปลอดภัย 29,400 บาท 5. โครงการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 106,200 บาท 6. โครงการขยะแลกไข่ 47,000 บาท 7. โครงการป้องกันอุบัติเหตุ-อุบัติภัย 50,000 บาท รวม 312,040 บาท รพ.สต. โครงการแบบบูรณาการ โครงการแบบเดิม (แยกประเด็น) คน -ระดม อสม. สท. และผู้นำชุมชน ทุกคนมาช่วยกันครั้งเดียว -แกนนำแต่ละกลุ่มร่วมประชุม และสรุปผลงาน 2 ครั้ง ทั้งหมด 7 โครงการ ดำเนินงาน 7 ครั้ง อสม. สท. และผู้นำชุมชนต้องมาร่วมงานหลายครั้ง ระยะเวลาดำเนินงาน -จัดมหกรรมสุขภาพผู้สูงวัย ให้ผู้สูงวัยมารวมกันเพื่อตรวจสุขภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประกวดผู้สูงอายุต้นแบบ ครั้งเดียว -รวมเวลาเตรียมงาน ดำเนินงาน และสรุปผลประมาณ 3 เดือน ทั้งหมด 7 โครงการ ถ้าทำโครงการละ 1 เดือน จะใช้เวลาประมาณ 7 เดือน ประหยัดงบประมาณ17.31%

15 โครงการแบบบูรณาการค่ากลาง
การจัดการสภาวะแวดล้อมทำครั้งหนึ่งจะมีผลต่อเนื่องไปถึงโครงการใหม่ๆได้ รพ.สต. โครงการแบบบูรณาการค่ากลาง โครงการแบบเดิม รพ.สต. บ้านท่อ ตำบลสันทราย หลวง อำเภอสันทราย งบประมาณ 1. การจัดการกลุ่มเป้าหมาย 41,000 บาท 2. การจัดการสิ่งแวดล้อม 74,755 บาท (บางกิจกรรมใช้งบประมาณของเทศบาล) รวม 115,755 บาท 1. โครงการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ 177,000 บาท 2. โครงการผู้สูงอายุสัญจร 108,000 บาท 3. โครงการควบคุมวัณโรค 1,345 บาท รวม 286,345 บาท คน บูรณาการในวันรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุครั้งเดียว ระดมคนช่วยจำนวนมากแต่ 1 ครั้ง ส่วนการจัดการสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ดำเนินงานโดยใช้งบประมาณของเทศบาลไปแล้ว ทั้ง 3 โครงการต้องระดมคนช่วยทั้ง 3 โครงการ ครั้งละหลายๆ คน ระยะเวลาดำเนินงาน 1-2 เดือน 3-6 เดือน ประหยัดงบประมาณ 59.5%

16 คำแนะนำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรรับผิดชอบโครงการจัดการสภาวะแวดล้อม โดยใช้ค่ากลางชุดเดียวกับโครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทั้งสองโครงการได้มาก (Synergistic Effect) ในการบูรณาการระหว่างองค์กรต่างสังกัดดังกล่าว ควรปรับระบบสาระสนเทศของทั้งสองฝ่ายให้สอดรับและใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ และควรมีการประชุมวางแผนการบูรณาการร่วมกัน ควรมีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เมื่อจัดการบูรณาการแล้ว ควรก้าวสู่การสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคมโดยเร็ว

17 เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
กระบวนการบูรณาการ การเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชน ประกาศค่ากลาง บูรณาการงาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล สร้างโครงการ เปิดงาน ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯ เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ โ ค ร ง ก า ร

18 www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การปฏิรูปโครงการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google